วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การรวมวงดนตรี 1

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)
1.            รหัสวิชา                                ศ. 43219
2.            รายวิชา                                  ทักษะดนตรีสากล  ( การรวมวงดนตรี 1 )
3.            จำนวนหน่วยการเรียน       1.0  หน่วยการเรียน
4.            กลุ่มสาระการเรียนรู้           ดนตรี – นาฎศิลป์
5.            สถานศึกษา                           โรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม)
6.            ภาคการศึกษา                       ภาคเรียนที่  2
7.            ปีการศึกษา                            2554
8.            ชื่อผู้สอน                               อาจารย์ยงยุทธ  เอี่ยมสอาด
9.            เงื่อนไขรายวิชา                    นักเรียนแผนการเรียนดุริยางคศิลป์
10.     ระดับชั้น                               มัธยมศึกษาปีที่ 6/2
11.     ชื่อหลักสูตร                          หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสาธิต มศว ประสานมิตร
                                                (ฝ่ายมัธยม)
12.     จำนวนคาบที่สอน               2  คาบต่อสัปดาห์
13.     จุดประสงค์ของรายวิชา
1.               นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติการรวมวงและการบรรเลงดนตรีร่วมกันเป็นหมู่คณะได้
2.               นักเรียนสามารถฝึกปฏิบัติการแกะการเขียนโน้ตเพลง  การบันทึกโน้ตแยกแนวเพลงได้
14.      กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่/คาบที่
สาระการเรียนรู้
(เนื้อหา)
กิจกรรมการเรียนการสอน
วิธีการวัดผล/
ประเมินผลระหว่างเรียน
1
แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ ขอบข่ายการเรียนรู้ หน้าที่และแนวคิดในวงดนตรี
อภิปราย  อธิบาย
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
2
การนำเสนอบทเพลงและรายละเอียดโน้ตเพลงแยกแนวดนตรี สกอร์เพลง  ลำดับการฝึกควบคุมวงดนตรีและบทเพลง
อธิบาย ตัวอย่างผลงาน
สาธิตการรวมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
3
Basic Harmonizing Theory
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
4
Basic Chord Progression their Variations
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
5
Chord Patterns
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
6
Chord Progression and Bass Line
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
7
Rhythm Section
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
8
Basic Rhythm Patterms
2/4   3/4   4/4  2/2
อภิปราย  อธิบาย  สาธิตและฝึกปฏิบัติรูปแบบดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
9
การฝึกปฏิบัติการรวมวงดนตรีและ การควบคุมวงดนตรีบทเพลงที่ 1,2
ซักถาม  ฝึกปฏิบัติวงดนตรีและการควบคุมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
10
การฝึกปฏิบัติการรวมวงดนตรีและ การควบคุมวงดนตรีบทเพลงที่ 3,4
ซักถาม  ฝึกปฏิบัติวงดนตรีและการควบคุมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
11
การฝึกปฏิบัติการรวมวงดนตรีและ การควบคุมวงดนตรีบทเพลงที่ 5,6
ซักถาม  ฝึกปฏิบัติวงดนตรีและการควบคุมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
12
การฝึกปฏิบัติการรวมวงดนตรีและ การควบคุมวงดนตรีบทเพลงที่ 1 - 6
ซักถาม  ฝึกปฏิบัติวงดนตรีและการควบคุมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
13
รวบรวมบทเพลง  รายละเอียดโน้ตแยกแนวดนตรี สกอร์บทเพลงส่งท้ายชั่วโมง
ตรวจสอบชิ้นงาน
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
14
บันทึกเสียงบทเพลงการรวมวงดนตรี
ตรวจสอบชิ้นงาน
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
15
เตรียมสอบซ้อมใหญ่การแสดงต่อหน้าสาธารณชน
ซักถาม  ฝึกปฏิบัติวงดนตรีและการควบคุมวงดนตรี
สังเกต พูดคุยรายเดี่ยว และรายกลุ่ม
16
การสอบการแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน
ประเมินผลการเรียนรู้ และการสอบการแสดง
สอบปฏิบัติการแสดง

15.       การวัดและประเมินผลการเรียน
-                    คะแนนจุดประสงค์ระหว่างเรียน           20  คะแนน
-                   คะแนนสอบกลางภาค                               20   คะแนน
-                   คะแนนสอบปลายภาค                               30   คะแนน
-                   คะแนนอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน       20   คะแนน (ฝ่ายวิชาการกำหนด)
-                   คะแนนจิตพิสัย                                            10   คะแนน
-                   เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน
ใช้เกณฑ์มาตรฐานเปรียบเทียบคะแนนตัดสินเป็นระดับผลการเรียนดังนี้

คะแนน
ระดับผลการเรียน
80 – 100
4
75 – 80
3.5
71 – 74
3
65 - 70
2.5
60 – 64
2
55 – 59
1.5
50 – 54
1
0 – 49
0




 หัวข้อในการประเมินจิตพิสัย
1.             การเรียนตรงต่อเวลา
2.             กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน
3.             ความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น