วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ปฏิบัติเครื่องมือเอก-02

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ31245

2. รายชื่อวิชา ปฎิบัติดนตรี2

3. จำนวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 3

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้           สาขาดนตรีสากล

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน 1. อ.ดร.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีไทย หรือการขับร้อง ตามเครื่องมือเอกของนักเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเทคนิคการบรรเลงบทเพลงที่เหมาะสมกับธรรมชาติของเครื่องดนตรีตามเครื่องมือเอก การฝึกแบบฝึกหัด (Exercise, Etude) การฝึกเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 4ชาร์ป 4แฟลต เมเจอร์ไมเนอร์ ฝึกการอ่านโน้ตในจังหวะรูปแบบต่าง ๆ ฝึกทักษะการฟัง สำหรับเครื่องมือเอกดนตรีไทยอาจใช้การฝึกเทคนิควิธีการอื่น ๆ ที่เหมาะสม โดยทุกเครื่องมือเอกต้องจัดการแสดงในปลายภาคเรียนในรูปแบบ Recital โดยมีการบรรเลงประกอบหรือเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสมโดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. สำหรับดนตรีสากล สามารถเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 4 ชาร์ป 4 แฟลต  

   เมเจอร์ไมเนอร์ สำหรับดนตรีไทย สามารถฝึกเทคนิคอื่นที่ช่วยพัฒนาทักษะดนตรีให้ดีขึ้น

2. มีทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติที่ถูกต้อง

3. สามารถปฏิบัติแบบฝึกหัดแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

4. สามารถปฏิบัติเพลงที่กำหนดได้อย่างถูกต้องตามหลักการและสามารถทำการแสดงในรูปแบบ Recital ได้

ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ปฎิบัติดนตรี6


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีตาม         

                     เครื่องมือเอก

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีตามเครื่องมือ  

                                                    เอก

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ฝึกไล่ Scale  ที่ยากขึ้น

2. ฝึกทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ

3. ฝึกปฏิบัติแบบฝึกหัด

4. ฝึกปฏิบัติเพลงที่กำหนด


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 ฝึกไล่ Scale  แบบฝึกหัด และสอบ 20

2 ทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ แบบฝึกหัด และสอบ 20

3 ปฏิบัติแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด และสอบ 20

4 ปฏิบัติเพลงที่กำหนด แบบฝึกหัด และสอบ 30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ สอบ P.Tests 3 คาบ

2 2 บันไดเสียงทางชาร์ป  C, G, D, A, E,B   เมเจอร์ ,ไมเนอร์ 3 คาบ

3 3 บันไดเสียงทางแฟลต F, Bb, Eb, Ab, Db   เมเจอร์,ไมเนอร์ 3 คาบ

4 4 บทเพลงสอบ Repertoire  1  Pieces โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า 5 นาที 3 คาบ

5 5 ฝึกเทคนิคและ การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์   บทเพลงสอบที่ 1 3 คาบ

6 6 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 1 3 คาบ

7 7 บทเพลงสอบ  Repertoire 2 -3 Pieces โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า  5 นาที 3 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 2 3 คาบ

9 9 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 2 3 คาบ

10 10 ฝึกเทคนิคและ บทเพลงสอบที่ 3การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ 3 คาบ

11 11 ฝึกเทคนิคและ การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 3 3 คาบ

12 12 นำเสนอบทเพลงที่ใช้ในการสอบปลายภาค

ในรูปแบบ Recital 3 คาบ

13 13 Runthough  การแสดงสอบปลายภาคในรูปแบบ Recital 3 คาบ

14 14 สอบปลายภาคในรูปแบบ Recital 3 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






วันอังคารที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ดนตรีเพื่อการภาพยนต์

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ33223

2. รายชื่อวิชา ดนตรีเพื่อการภาพยนต์

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้           สาขาดนตรีสากล

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ดร.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

   ศึกษาบทเพลงต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาพยนตร์และการละคร วิเคราะห์รูปแบบของบทเพลง การนำบทเพลงมาใช้ การตัดต่อบทเพลงเพื่อประกอบการแสดง

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี  และการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจำวัน แสดงดนตรีในรูปแบบต่างๆ  แสดงความคิดเห็น  เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อเข้าใจหลักการและ กระบวนการทำงานการผลิตดนตรีสำหรับเสียงประกอบสื่อและภาพ 

2. เพื่อสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์ในการสร้างและพัฒนางานตามขั้นตอนกระบวนการผลิตดนตรีสื่อปฎิสัมพันธ์








ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ดนตรีเพื่อการภาพยนต์


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกการผลิตเพื่อสื่อสารภาพและเสียง         

                     

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้สร้างสรรค์สื่อปฏิสัมพันธ์ทางดนตรี  

                                                    

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ความหมายดนตรีเพื่อการภาพยนต์  ประเภทงานดนตรี

2. การนำเสนอบทเพลง เนื้อเรื่อง/ภาพสื่อ/ความหมาย ดนตรีเพื่อการภาพยนต์

3. การทำภาพประกอบเพลงเพื่อสื่อความตรงกับ ความหมายของภาพ/บทเพลง/การตีความ/เดโม บทเพลง

4. หนังสั้นดนตรี  แนวคิดการทำงาน  นำเสนอเนื้อเรื่อง นำเสนอสตอรี่บอร์ค                      



3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0




5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ 2 คาบ

2 2 ความหมายดนตรีเพื่อการภาพยนต์  ประเภทงานดนตรี 2 คาบ

3 3 การนำเสนอบทเพลง เนื้อเรื่อง/ภาพสื่อ/ความหมาย ดนตรีเพื่อการภาพยนต์ 2 คาบ

4 4 การทำสื่อร่วมสมัยดนตรีเพื่อการภาพยนต์ เพื่อการนำเสนอ 2 คาบ

5 5 นำเสนอสื่อร่วมสมัย ดนตรีเพื่อการภาพยนตร์/เนื้อร้อง ทำนองเพลงรุ่น/ 2 คาบ

6 6 การทำภาพประกอบเพลงเพื่อสื่อความตรงกับ

ความหมายของภาพ/บทเพลง/การตีความ/เดโม เพลงรุ่น 2 คาบ

7 7 นำเสนอภาพประกอบเพลงเพื่อสื่อความหมาย/บทเพลง/การตีความ/MV เพลงรุ่น 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 หนังสั้นดนตรี  แนวคิดการทำงาน  นำเสนอเนื้อเรื่อง นำเสนอสตอรี่บอร์ค 2 คาบ

9 9 เนื้อเรื่อง บทเพลง แบ่งบทบาทหน้าที่ แนวทางการทำงาน 2 คาบ

10 10 ถ่ายทำหนังสั้นดนตรี 1 2 คาบ

11 11 ถ่ายทำหนังสั้นดนตรี 2 2 คาบ

12 12 ถ่ายทำหนังสั้นดนตรี 3 2 คาบ

13 13 นำเสนอหนังสั้นดนตรี 2 คาบ

14 14 นำเสนอหนังสั้นดนตรี02 2 คาบ

สอลปลายภาค






เพิ่มเติมเลือกดนตรี ไวโอลิน-02

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ22202

2. รายชื่อวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)

3. จำนวนหน่วยกิต 0.5 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้           สาขาดนตรีสากล

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2

7. ประเภทวิชา วิชาเลือก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ดร.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกโสตประสาท  ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลอย่างน้อย 1 ชิ้นตามความถนัด  โดยฝึกบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม  และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว  การดูแลรักษาเครื่องดนตรี  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัด 

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่าง    อิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น       เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร  การคิด  การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี  มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข  ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์  อันได้แก่ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน                รักความเป็นไทย  ซื่อสัตย์สุจริต  อยู่อย่างพอเพียง  มีจิตสาธารณะ  มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อสามารถบรรเลงทักษะดนตรีเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

2. เพื่อสามารถบรรเลงร่วมกับผู้อื่นได้







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน         

                     

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน  

                                                   

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

 1.      ทฤษฎีเพื่อประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล 3

 2.      เทคนิคปฏิบัติเพื่อการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลและบันไดเสียง 3

 3.      ปฏิบัติบทเพลงเดี่ยว บทเพลงกลุ่มและการแสดงดนตรี 3

 4.      การดูแลรักษาเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมดนตรี 3


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

2 สอบกลางภาค บทเพลง 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

4 สอบปลายภาค บทเพลง      30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 เมื่อสามารถกดและยกได้อย่างถูกต้องแล้วจึงใช้คันสีเพื่อตรวจสอบระดับเสียง/บทเพลง 2 คาบ

2 2 เมื่อมีความคล่องแล้ว จึงให้ฝึกการกดยกข้ามสาย  โดยใช้การเคลื่อนไหวของศอกซ้ายเพื่อช่วยในการข้ามสาย/บทเพลง 2 คาบ

3 3 ฝึกวางตำแหน่งมือขวาสำหรับการดีด/บทเพลง 2 คาบ

4 4 ฝึกการดีดสายให้ได้เสียงที่มีน้ำหนัก/บทเพลง 2 คาบ

5 5 อธิบายเรื่องการผสมกันระหว่างน้ำหนักมือ และตำแหน่งการใช้คันชักลงบนสาย/บทเพลง 2 คาบ

6 6 สาธิตการสีให้เกิดเสียงที่มีคุณภาพถูกต้อง/บทเพลง 2 คาบ

7 7 สาธิตตัวอย่างเสียงที่ไม่พึงให้เกิดจากการสี/บทเพลง 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 อธิบายความแตกต่าง และความสำคัญของคุณภาพเสียงที่แตกต่างกัน/บทเพลง 2 คาบ

9 9 สาธิตการใช้คันชักในลักษณะต่างๆ เพื่อให้เกิดเสียงที่แตกต่างกัน/บทเพลง 2 คาบ

10 10 ให้นักเรียนฝึกการสีบนสายเปล่าจำจังหวะจากVariation A และ B  และ C โดยที่ครูบรรเลงบนสายเปล่าจากนั้นจึงให้ผู้เรียนปรบมือจังหวะตาม  แล้วให้บรรเลงบนไวโอลิน/บทเพลง 2 คาบ

11 11 เพิ่มการกดสายตามทำนอง โดยมีครูบรรเลงตาม หรือบรรเลงทำนองหลักควบคู่ไปด้วย/บทเพลง 2 คาบ

12 12 ให้ผู้เรียนใช้คันชักขึ้น และลงตามจังหวะชุดสั้น  สั้น ยาวบนสายเปล่าก่อน  โดยให้สีระหว่างปลาย และโคนคันชักแล้วจึงให้บรรเลงตามบทเพลง/บทเพลง 2 คาบ

13 13 ให้ผู้เรียนฝึกการบรรเลงบันไดเสียง และอาเพจิโอ  ในรูปแบบ Detace /บทเพลง 2 คาบ

14 14 ทดสอบบทเพลงไวโอลิน 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






ศิลปะพื้นฐาน(ดนตรีสสากล)

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ31102

2. รายชื่อวิชา ศิลปะพื้นฐาน8 (ดนตรีสากล)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้           สาขาดนตรีสากล

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ดร.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเปรียบเทียบวิเคราะห์ประเภทและรูปแบบของวงดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยประวัติดนตรีตะวันตก คีตกวี และบทเพลง ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม เทคนิค และการถ่ายทอดอารมณ์เพลงด้วยการร้องบรรเลงเครื่องดนตรีเดี่ยวและรวมวงเกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี คุณภาพและ คุณค่าของผลงานทางดนตรี การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของงานดนตรีจากแต่ละวัฒนธรรม ดนตรีกับการผ่อนคลาย  ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์  ดนตรีกับการประชาสัมพันธ์ดนตรีกับการบำบัดรักษา  ดนตรีกับธุรกิจ ดนตรีกับการศึกษา

โดยกระบวนการวิเคราะห์ และกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ในการถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรีและ แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม  และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์  

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าทางดนตรีถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

2. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล 

ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ศิลปะพื้นฐาน8(ดนตรีสากล)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการสุนทรียทางดนตรี

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในเล่นเครื่องดนตรี 1 ชิ้น 

    

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยและประวัติคีตกวีตะวันตกและบทเพลง         

2. ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม 

3. ดนตรีกับการนำไปประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ                          

4. ร้องเพลงและการปฏิบัติเครื่องดนตรี เกณฑ์การประเมินคุณภาพของบทเพลง       

                                                                     

3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)



4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0



5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

2 2 บทบาทของดนตรีสากลในการสะท้อนสังคม

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

3 3 วิวัฒนาการของดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

4 4 ประวัติคีตกวีด้านดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

5 5 ประเภทของวงดนตรี

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

6 6 คุณค่าและความงามของดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

7 7 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 ประเภทของเพลงสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

9 9 ดนตรีสากลกับสังคมไทย

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

10 10 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของสังคมไทย

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

11 11 คีตกวีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

12 12 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

13 13 รูปแบบการบรรเลงดนตรีสากลและขับร้อง

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

14 14 ศัพท์สังคีตในดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






เพิ่มเติมเลือก ไวโอลิน

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ21202

2. รายชื่อวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้           สาขาดนตรีสากล

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1

7. ประเภทวิชา วิชาเลือก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ดร.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกโสตประสาท  ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลอย่างน้อย 1 ชิ้นตามความถนัด  โดยฝึกบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม  และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว  การดูแลรักษาเครื่องดนตรี  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัด 

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่าง    อิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น       เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร  การคิด  การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี  มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข  ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์  อันได้แก่ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน                รักความเป็นไทย  ซื่อสัตย์สุจริต  อยู่อย่างพอเพียง  มีจิตสาธารณะ  มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อสามารถบรรเลงทักษะดนตรีเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

2. เพื่อสามารถบรรเลงร่วมกับผู้อื่นได้







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงไวโอลิน         

             

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโฮลิน  

                                                   

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

 1.      ทฤษฎีเพื่อประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล 1

 2.      เทคนิคปฏิบัติเพื่อการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลและบันไดเสียง 1

 3.      ปฏิบัติบทเพลงเดี่ยว บทเพลงกลุ่มและการแสดงดนตรี 1

 4.      การดูแลรักษาเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมดนตรี 1


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

2 สอบกลางภาค บทเพลง 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

4 สอบปลายภาค บทเพลง      30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0










5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 สาธิตการจับถือคันชักโดยใช้มือขวาจับคันชักขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง  โดยนิ้วทุกนิ้วต้องอยู่ในรูปตัวซีโดยไม่เกร็ง/บทเพลง1 2 คาบ

2 2 สาธิตการวางไวโอลินบนบ่าอย่างถูกต้อง/บทเพลง2 2 คาบ

3 3 ฝึกการใช้คางหนีบไวโอลินให้ตั้งอยู่บนบ่าได้/บทเพลง3 2 คาบ

4 4 สาธิตท่านั่ง และยืนเพื่อความสมดุลย์ของน้ำหนักตัว โดยมีไวโอลินวางบนบ่า/บทเพลง4 2 คาบ

5 5 ให้แบบฝึกหัดการใช้คันสีบนสายเปล่าทั้งสี่สาย/บทเพลง5 2 คาบ

6 6 ผู้สอนจะแนะนำส่วนต่างๆของไวโอลินิและคันชัก การเช็ดถูสาย และตัวไวโอลินเมื่อเลิกใช้งาน/บทเพลง6 2 คาบ

7 7 อธิบายระดับคู่เสียงที่เทียบสายห่างเป็นคู่ห้าสำหรับสายแต่ละเส้น/บทเพลง7 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 เรียกชื่อสาย  โดยผู้เรียนชี้หรือดีดสายเส้นนั้น/บทเพลง8 2 คาบ

9 9 ผู้สอนชี้ไปยังสายเส้นใดเส้นหนึ่งแล้วให้ผู้เรียนบอกชื่อสายนั้นๆ/บทเพลง9 2 คาบ

10 10 อธิบายชื่อ และความหมายของบันไดเสียง/บทเพลง10 2 คาบ

11 11 อธิบายระดับคู่เสียงที่ใช้ในระบบดนตรีสากลสำหรับบันไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์/บทเพลง11 2 คาบ

12 12 อธิบายความหมายและความสำคัญของคีย์ซิกเนเจอร์/บทเพลง12 2 คาบ

13 13 อธิบายความหมายและความสำคัญของ Time Signature /บทเพลง13 2 คาบ

14 14 อธิบายเรื่องค่าตัวโน้ตชนิดต่างๆ และการนับจังหวะ/บทเพลง14 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565

ทฤษฎีดนตรีสากล4(หลักการประสานเสียง)

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ32267

2. รายชื่อวิชา ทฤษฎีดนตรีสากล4(หลักการประสานเสียง)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาลักษณะตัวโน้ตและตัวหยุด  เครื่องหมายกำหนดจังหวะ  ชื่อโน้ตใหม่  การย้ายทำนองเพลง  บันไดเสียงเมเจอร์  บันไดเสียงไมเนอร์  ขั้นคู่เสียง  ตรัยแอ็ดส์และการพลิกกลับ  ศัพท์และเครื่องหมายเพื่อปฏิบัติ ฝึกทักษะการฟัง(Ear Training) 

โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าดนตรี  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. มีความรู้ด้านทฤษฎีดนตรีและนำไปใช้ในเชิงบูรณาการ

2. ศึกษา การจัดวางแนวเสียง  การนำแนวเสียงการดำเนินคอร์ด การวางคอร์ดและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับเสียงประสานทั้งหลาย







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ทฤษฎีดนตรีสากล4(หลักการประสานเสียง)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการทฤษฎีดนตรีสากล การประสานเสียง

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเขียนแนวเสียงประสาน 4 Part  

    

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. บันไดเสียงเมเจอร์,ไมเนอร์

2. ขั้นคู่เสียง

3. ตรัยแอ็ดส์

4. การย้ายทำนองเพลง

5. ฝึกทักษะการฟัง




3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0




5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ สอบ P.Tests 2 คาบ

2 2 บันไดเสียง ขั้นคู่เสียง ขั้นคู่เสียงผสม คู่เสียงกลมกล่อม กระด้าง คู่พลิกกลับ 2 คาบ

3 3 คอร์ด ตรัยแอด คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต4 ตัว คอร์พิเศษ 2 คาบ

4 4 การสร้างแนวทำนอง การสร้างทำนองเพลงจากคอร์ด 2 คาบ

5 5 เคเดนส์ เพอร์เฟ็ค อิมเพอเฟ็ค พเลกัล ดีเซพทีฟ และรูปแบบเคเดนส์สำเร็จรูป 2 คาบ

6 6 การดำเนินคอร์ด การเคลื่อนโดยอิทธิพลของคอร์ด V7 การเคลื่อนคอร์ดชุด คอร์ดแทน 2 คาบ

7 7 การย้ายบันไดเสียง การเปลี่ยนคีย์ใหม่โดยตรง การเปลี่ยนคีย์โดยใช้คอร์ดร่วม 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 การเปลี่ยนคีย์โดยอาศัยคอร์ด ii7 V7 การเปลี่ยนคีย์โดยใช้บันไดเสียงสัมพันธ์ 2 คาบ

9 9 การสร้างท่อนนำIntroduction ท่อนดนตรีบรรเลงinterlude ท่อนจบending 2 คาบ

10 10 การเขียนเสียงประสานแบบ 2 แนว

Two part writing 2 คาบ

11 11 การเขียนเสียงประสานแบบ 4 แนว

เสียงประสานแบบแนวปิด แนวเปิด การเกลาแนวเสียงประสาน 2 คาบ

12 12 การสร้างชิ้นงานเสียงประสาน 4 แนว รายบุคคล 1 (นำเสนอโดยวงดนตรีจริง) 2 คาบ

13 13 การสร้างชิ้นงานเสียงประสาน 4 แนว รายบุคคล 2 (นำเสนอโดยวงดนตรีจริง) 2 คาบ

14 14 การสร้างชิ้นงานเสียงประสาน 4 แนว รายบุคคล 3 (นำเสนอโดยวงดนตรีจริง) 2 คาบ

สอลปลายภาคตามตารางสอบ






ปฏิบัติรวมวงดนตรี 1

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ32224

2. รายชื่อวิชา ปฏิบัติรวมวงดนตรี1

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 2/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

     ฝึกให้รู้จักขอบข่ายของวงดนตรีสากล บทบาทและหน้าที่ของเครื่องดนตรีแต่ละชนิด ตลอดจนการใช้เทคนิคการบรรเลงเครื่องดนตรีแต่ละชนิดในการบรรเลงรวมวงและสามารถควบคุมวงดนตรีได้

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี  และการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจำวัน บรรเลงดนตรีในรูปแบบต่างๆ  แสดงความคิดเห็น  เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อเข้าใจหลักการและ กระบวนการทำงานการฝึกซ้อมเป็นวงดนตรี 

2. เพื่อสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะและ ประสบการณ์ในการสร้างและพัฒนางานตามขั้นตอนกระบวนการกิจกรรมวงดนตรี







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ปฎิบัติรวมวงดนตรี1


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีตาม         

                     ประเภทวงดนตรีสากล

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีตามเครื่องมือ  

                                                    เอก

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. การตั้งเสียงเครื่องดนตรีในวงดนตรี ป๊อบ ออเครสตร้าความสมดุลของระดับเสียงในวง (Sound Balance)       

2. ความกลมกลืนของทำนองและเสียงประสาน ในวงดนตรี

3. ความเหมาะสมของบทบาทหน้าที่ในแต่ละเครื่องมือในวงดนตรี                        

4. ความชำนาญและความพร้อม ในการบรรเลงวงดนตรี



3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 70 : 30

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 30

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0




5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ 2 คาบ

2 2 วงดนตรี ป๊อบ ออเครสตร้า องค์ประกอบเครื่องดนตรี 5 กลุ่ม 1.เครื่องสาย 2.เครื่องเป่าลมไม้ 3.เครื่องเป่าลมทองเหลือง 4.กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ 5.เครื่องกีตาร์ เบส คีย์บอร์ดฯลฯ / บทเพลงที่1 2 คาบ

3 3 การตั้งเสียงเครื่องดนตรีในวงดนตรี ป๊อบ ออเครสตร้า

ความสมดุลของระดับเสียงในวง (Sound Balance) /บทเพลงที่ 2

2 คาบ

4 4 ความกลมกลืนของทำนองและเสียงประสาน ในวงดนตรี/ บทเพลงที่3

2 คาบ

5 5 ความเหมาะสมของบทบาทหน้าที่ในแต่ละเครื่องมือในวงดนตรี / บทเพลงที่ 4 2 คาบ

6 6 ความชำนาญและความพร้อม ในการบรรเลงวงดนตรี / บทเพลงที่ 5

2 คาบ

7 7 การแสดงวงดนตรี ป๊อบ ออเครสตร้า ในรูปแบบการสื่อสารต่างๆ หรือการแสดงสด(สอบกลางภาค) 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 การบรรเลงแนวเพลง Pop/Soft Rock / บทเพลงที่ 6 2 คาบ

9 9 การบรรเลงแนวเพลง Hard Rock/Heavy Metal / บทเพลงที่ 7 2 คาบ

10 10 การบรรเลงแนวเพลง Southern Rock/Country Rock / บทเพลงที่ 8 2 คาบ

11 11 การบรรเลงแนวเพลง Soul/R&B, Disco, Funk-Jazz / บทเพลงที่ 9 2 คาบ

12 12 การแสดงคอนเสิรต์ การรวมวงดนตรี 1 2 คาบ

13 13 อภิปราย วิพากษ์ ข้อเสนอแนะ การแสดงคอนเสิรต์ การรวมวงดนตรี1 2 คาบ

14 14 การบรรเลงแนวเพลง Pop/Soft Rock / บทเพลงที่ 6 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ