วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ศิลปะพื้นฐาน คีตกวีไทย


ประวัติ และ ผลงาน ของคีตกวีไทย


      
คีตกวี เป็นคำศัพท์ทางดนตรีที่พบได้บ่อยครั้ง หมายถึง ผู้ประพันธ์ดนตรี มักจะใช้เรียกผู้ที่แต่งและเรียบเรียงดนตรีบางประเภท โดยเฉพาะ ดนตรีคลาสสิก โดยที่ผู้แต่งเพลงมักจะแต่งทั้งท่วงทำนองหลัก และแนวประสานทั้งหมด เพื่อให้นักดนตรีเป็นผู้นำบทเพลงนั้นไปบรรเลงอีกทอดหนึ่ง โดยนักดนตรีจะต้องบรรเลงทุกรายละเอียดที่คีตกวีได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด โดยยกตัวอย่างมา 3 ท่าน ดังนี้

1.
ครูมนตรี ตราโมท

        มนตรี ตราโมท มีนามเดิมว่า บุญธรรม เกิดเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน .. 2443    เริ่มเรียนดนตรีปี่พาทย์ กับครูสมบุญ นักฆ้อง ต่อมาเรียนระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ แคลริเนต และหลักการแต่งเพลง กับครูสมบุญ สมสุวรรณ เรียนวิธีการแต่งเพลงกับพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสามศัพท์) และหลวงประดิษฐ์ไพเราะ(ศร ศิลปบรรเลง) และครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียงหลายท่าน รวมทั้งเรียนโน้ตสากลกับพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยกร) จนสามารถอ่านและเขียนได้เป็นอย่างดี 
 
        มนตรี ตราโมท รับราชการที่กรมพิณพาทย์หลวงในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นผู้บรรเลงระนาดทุ้มประจำวงข้าหลวงเดิม ต่อมาย้ายไปสังกัดกรมศิลปากร จนเกษียณอายุ  และยังคงปฏิบัติราชการในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยจนถึงแก่อนิจกรรม

     มนตรี ตราโมท  มีฝีมือทางการบรรเลงเครื่งดนตรีไทยได้หลายชนิด ที่ได้รับยกย่องพิเศษ คือ ระนาดทุ้ม ได้แต่งเพลงไว้เป็นจำนวนมาก ประเภทเพลง 3 ชั้นเช่น เพลงต้อยตลิ่ง (แต่งร่วมกับหมื่นประคมเพลงประสาน) เพลงเทพไสยาสน์ เพลงจะเข้หางยาว ฯลฯ  แต่งตำราทางวิชาการดนตรีไทยไว้ เช่น ดุริยางคศาสตร์ไทย ภาควิชาการ ศัพท์สังคีต ประวัติบทเพลงต่างๆ และบทความทางประวัติการดนตรีไทยจำนวนมาก  นอกจากนั้น ยังได้สอนดนตรีและเป็นผู้บรรยายพิเศษแก่สถาบันต่างๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และมหาวิทยาลัยศิลปากร

     ครูมนตรี ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อ ..2523 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อพ..2524 และมหาวิทยาลัยศณีนครินทรวิโรฒ เมื่อพ..2526  ครูมนตรีได้รับพระราชทานโล่ห์เกียรติยศจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในฐานะนักดนตรีตัวอย่าง เมื่อพ..2524 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตนักศิลปกรรม ประเภทวิจิตรศลป์ สาขาดุริยางคศิลป์ เมื่อพ.. 2524 และได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาดนตรีไทย ประจำปีพ..2528





วันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ศูนย์การเรียนรู็ศิลปะการแสดงและ ดนตรี


แผนการพัฒนาแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์  กลุ่มสาระดนตรี - นาฏศิลป์  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม )

ส่วนที่ 1 :  ต้นน้ำ ( สร้างเมล็ดพันธุ์ )
แผนการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่กลุ่มอุตสาหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรี ดังนี้
ขั้นที่  1.  สร้างศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี  ที่มีคุณภาพในโรงเรียนดังรายละเอียดต่อไปนี้
ห้องเรียนดนตรี
_  ห้องเรียนดนตรีแบบเรียนเดี่ยว  จำนวน  30  ห้อง
_  ห้องเรียนดนตรีแบบกลุ่มประมาณ  12  คน จำนวน  4  ห้อง
_  ห้องปฏิบัติการการแสดงนาฏศิลป์ไทยและ  สากล  จำนวน  6  ห้อง
จัดจ้างอาจารย์ผู้สอนศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
            _  โครงการเชื่อมโยงพหุศิลป์ทางปัญญาโดยร่วมมือกับคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ประสานมิตร
           _  อาจารย์เฉพาะเครื่องมือเอก เช่น  วิชากีตาร์  วิชาขับร้อง  วิชาขลุ่ยฟุลต  วิชาไวโอลิน  วิชาเปียโน  วิชาแซกโซโฟนและ วิชาอื่นๆตามที่นักเรียนวิชาเอกแต่เครื่องมือแต่ละปีการศึกษา
           _  อาจารย์เฉพาะวิชาศิลปะการแสดง  เช่น บัลเล่ย์  แจ๊สแดนส์  ละครไบ้  ละครหน้ากาก
ห้องสมุดศูนย์ศิลปะการแสดงและ  ดนตรี
          _  ตำราเรียนต่างๆในวิชาดนตรี
          _  ตำราเรียนวิชาศิลปะการแสดงต่างๆ
         _   วารสารดนตรีต่างๆรายปักษ์  และรายปี
         _   วารสารศิลปะการแสดงต่างๆรายปักษ์และ  รายปี
         _   โน้ตเพลง  บทเพลงของเครื่องดนตรีในเครื่องมือต่างๆ
         _   โน้ตเพลงวงดนตรีในรูปแบบวงดนตรีต่างๆ  เช่น ออร์เคสตร้า  แจ๊สแบนด์  โยธวาทิต  แชมเบอร์มิวสิค
         _   ซี ดี,  วี ซี ดี  การแสดงนาฏศิลป์ไทยและสากล  ประเภทการแสดงต่างๆ
เครื่องดนตรีและ อุปกรณ์ดนตรี
        _    แกรนด์เปียโน  สำหรับการแสดงคอนเสริต์  ประจำห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
       _    เปียโนอัฟไลฟ์ (อคูสติก )   ประจำห้องฝึกซ้อมดนตรี  จำนวน  10  เครื่อง
       _    ชุดเครื่องเสียงประจำห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
       _    ขาตั้งวางโน้ตเพลง  จำนวน  50  ตัว
       _    ขาตั้งวางโน้ตเพลงสำหรับผู้อำนวยเพลงวงออร์เคสตร้า  จำนวน  3  ชุด    



ห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ  ดนตรี
         _  สามารถบรรจุคนได้จำนวน  100  ที่นั่ง
         _  สามรถจัดการแสดงและ นิทรรศการได้ตลอดเวลา โดยความดูแลของกลุ่มสาระดนตรี  นาฏศิลป์

ขั้นที่  2.  ดำเนินการศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
_  จัดการเรียนการสอนในรายวิชาดนตรีและ การแสดงต่างๆ
_  พัฒนาหลักสูตรแผนการเรียนดุริยางคศิลป์และนาฏยศาสตร์ศิลป์  เพื่อเชื่อมโยงสอดคล้องกับศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
_  จัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งสู่แผนอุตสาหกรรมศิลปะการแสดงและ ดนตรี
ขั้นที่ 3  ขั้นนำเสนอและ เผยแพร่  ศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
            _  จัดการแสดงผลงานนักเรียนสู่สาธารณะชน
            _  จัดสอบเทียบเกรดมาตราฐานทางดนตรีและ  ศิลปะการแสดงตามมาตราฐานสากล

แผนพัฒนาแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กลุ่มสาระดนตรี


แผนการพัฒนาแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์  กลุ่มสาระดนตรี - นาฏศิลป์  โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม )

ส่วนที่ 1 :  ต้นน้ำ ( สร้างเมล็ดพันธุ์ )
แผนการพัฒนาเพื่อมุ่งสู่กลุ่มอุตสาหกรรมศิลปะการแสดงและดนตรี ดังนี้
ขั้นที่  1.  สร้างศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี  ที่มีคุณภาพในโรงเรียนดังรายละเอียดต่อไปนี้
ห้องเรียนดนตรี
_  ห้องเรียนดนตรีแบบเรียนเดี่ยว  จำนวน  30  ห้อง
_  ห้องเรียนดนตรีแบบกลุ่มประมาณ  12  คน จำนวน  4  ห้อง
_  ห้องปฏิบัติการการแสดงนาฏศิลป์ไทยและ  สากล  จำนวน  6  ห้อง
จัดจ้างอาจารย์ผู้สอนศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
            _  โครงการเชื่อมโยงพหุศิลป์ทางปัญญาโดยร่วมมือกับคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  ประสานมิตร
           _  อาจารย์เฉพาะเครื่องมือเอก เช่น  วิชากีตาร์  วิชาขับร้อง  วิชาขลุ่ยฟุลต  วิชาไวโอลิน  วิชาเปียโน  วิชาแซกโซโฟนและ วิชาอื่นๆตามที่นักเรียนวิชาเอกแต่เครื่องมือแต่ละปีการศึกษา
           _  อาจารย์เฉพาะวิชาศิลปะการแสดง  เช่น บัลเล่ย์  แจ๊สแดนส์  ละครไบ้  ละครหน้ากาก
ห้องสมุดศูนย์ศิลปะการแสดงและ  ดนตรี
          _  ตำราเรียนต่างๆในวิชาดนตรี
          _  ตำราเรียนวิชาศิลปะการแสดงต่างๆ
         _   วารสารดนตรีต่างๆรายปักษ์  และรายปี
         _   วารสารศิลปะการแสดงต่างๆรายปักษ์และ  รายปี
         _   โน้ตเพลง  บทเพลงของเครื่องดนตรีในเครื่องมือต่างๆ
         _   โน้ตเพลงวงดนตรีในรูปแบบวงดนตรีต่างๆ  เช่น ออร์เคสตร้า  แจ๊สแบนด์  โยธวาทิต  แชมเบอร์มิวสิค
         _   ซี ดี,  วี ซี ดี  การแสดงนาฏศิลป์ไทยและสากล  ประเภทการแสดงต่างๆ
เครื่องดนตรีและ อุปกรณ์ดนตรี
        _    แกรนด์เปียโน  สำหรับการแสดงคอนเสริต์  ประจำห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
       _    เปียโนอัฟไลฟ์ (อคูสติก )   ประจำห้องฝึกซ้อมดนตรี  จำนวน  10  เครื่อง
       _    ชุดเครื่องเสียงประจำห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
       _    ขาตั้งวางโน้ตเพลง  จำนวน  50  ตัว
       _    ขาตั้งวางโน้ตเพลงสำหรับผู้อำนวยเพลงวงออร์เคสตร้า  จำนวน  3  ชุด    



ห้องแสดงศูนย์ศิลปะการแสดงและ  ดนตรี
         _  สามารถบรรจุคนได้จำนวน  100  ที่นั่ง
         _  สามรถจัดการแสดงและ นิทรรศการได้ตลอดเวลา โดยความดูแลของกลุ่มสาระดนตรี  นาฏศิลป์

ขั้นที่  2.  ดำเนินการศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
_  จัดการเรียนการสอนในรายวิชาดนตรีและ การแสดงต่างๆ
_  พัฒนาหลักสูตรแผนการเรียนดุริยางคศิลป์และนาฏยศาสตร์ศิลป์  เพื่อเชื่อมโยงสอดคล้องกับศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
_  จัดการเรียนการสอนเพื่อมุ่งสู่แผนอุตสาหกรรมศิลปะการแสดงและ ดนตรี
ขั้นที่ 3  ขั้นนำเสนอและ เผยแพร่  ศูนย์การเรียนรู้ศิลปะการแสดงและ ดนตรี
            _  จัดการแสดงผลงานนักเรียนสู่สาธารณะชน
            _  จัดสอบเทียบเกรดมาตราฐานทางดนตรีและ  ศิลปะการแสดงตามมาตราฐานสากล