วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วิชาวิถีพลโลก โหมดเสียงดนตรี


โหมด (MODE)
         โหมดหลัก
            การแยกแยะโหมดชนิดต่างๆขึ้นอยู่กับฟินาลิสหรือโน้ตจบทำนอง เทียบกับโน้โทนิก (tonic) ส่วนช่วงเสียงก็คือระยะจากโน้ตตัวหนึ่งไล่ขึ้นไปตามลำดับอีก 7 ตัวเป็นระยะ 1 ช่วงคู่แปด ฟินาลิสที่มีใช้มากที่สุดมี 4 ตัว คือ D หรือโปรตุส (Protus) , E หรือเดยูเรตุส (Deuterus) , F หรือไตรตุส (Tritus) และ G หรือเตตราดุส
            ถ้าเทียบกับบันไดเสียง C เมเจอร์ได้ โหมดที่มีฟินาลิสเป็น D คือ โหมดโดเรียน(Dorian mode) โหวดที่มีฟินาลิสเป็น E คือ โหมดฟริเจียน (Phrygian mode) โหมดที่มีฟินาลิสเป็น F คือ โหมดลิเดียน  (Lydian mode) และโหมดที่มีฟินาลิสเป็น G คือโหมดมิกโซลิเดียน (Mixolydian mode) ซึ่งทั้งหมดนี้คือ โหมดหลัก ( Aythentic mode) ซึ่งทั้งหมดนี้คือ โหมดหลัก ( Authentic mode) มีที่ใช้เป็นที่แพร่หลาย
            ต่อมาได้มีการเพิ่มเติมชนิดของโหมดหลักขึ้นอีก 3 โหมด พื่อให้มีจำนวนโหมดหลักที่มีฟินาลิสครบ 7 ตัว โหมดทั้งสามได้แก่ โหมดไอโอเนียน (Ionian mode) ซึ่งมีฟินาลิสเป็น C  โหมดเอโอเลียน (Aeolian mode) ซึ่งมีฟินาลิสเป็น A และโหมดโลเครียน (Locrian mode) ซึ่งมีฟินาลิส เป็น B
            โน้ตสำคัญของแต่ละโหลดนอกจากจะมีฟินาลิสเป็นโน้ตสำคัญที่สุดแล้ว ยังมีโน้ตพักประโยคเพลงที่เรียกว่า โน้ตโดมินันท์ (Dominant) เป็นโน้ตที่มีความสำคัญเป็นรอง โดยจะเป็นโน้ตตัวที่ 5 นับจากตัวฟินาลิสของแต่ละโหมด ยกเว้นในกรณีโน้ตตัวที่ 5 เป็นโน้ต B ก็จะปรับเป็นโน้ตตัวถัดไปคือ โน้ต C เพราะโน้ต B ถือว่าเป็นโน้ตที่ไม่มีความมั่นคง
            โหมดหลักมีทั้งสิ้น 7 โหมด ได้แก่
1.โหมดไอโอเนียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น C มีช่วงเสียงระหว่าง C-C  โหมดไอโอเนียนในบันไดเสีย เมเจอร์ก็คือ C D E F G A B C
         2.โหมดโดเรียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น D มีช่วงเสียงระหว่า D-D โหมดโดเรียนในบันไดเสียง C เมเจอร์คือ D E F G A B C D
         3.โหมดฟริเจียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น E มีช่วงเสียงระหว่าง E-E โหมดฟริเจียนในบันไดเสียง C เมเจอร์ก็คือ E F G A B C D E ในโหมดนี้ต้องปรับจากโน้ต B ซึ่งเป็นโน้ตตัวที่ 5 ให้เป็นโน้ต C เนื่องจากเหตุผลที่กล่าวแล้วดังข้างต้น และด้วนการปรับนี้เองทำให้โน้ตโดมินันท์ของโหมดฟริเจียนนี้ กลายเป็นโน้ตตัวเดียวกับโน้ตโดมินันท์ของโหมดลิเดียน
4.โหมดลิเดียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น F 1,u=j;’glup’its;jk’ โ-โ โหมดลิเดียนในบังไดเสียง C เมเจอร์คือ F G A B C D E F
5.โหมดมิกโซลิเดียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น G มีช่วงเสียงระหว่าง G-G โหมดมิกโซลิเดียนในบันไดเสียง C เมเจอร์คิ G A B C D E F G
         6.โหมดเอโอเลียน คิอโหมดที่มีฟินาลิสเป็น A มีช่วงเสียงระหว่าง A-A โหมดเอโอเลียนในบันไดเสียง C เมเจอร์คือ A B C D E F G A ซึ่งโหมดนี้เหมือนกับบันไดเสียงไมเนอร์แบบเนเชอรัล
  7.โหมดโลเครียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น B มีช่วงเสียงระหว่าง B-B โหมดโลเครียนในบันไดเสียง C เมเจอร์คือ B C D E F G A B โหมดนี้มีปรากฏในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติไม่เป็นที่นิยมเลย เนื่องจากฟินาลิสซึ่งถือว่าเป็นโน้ตหลักที่มั่งคงกลับเป็นโน้ต B ซึ่งเป็นโน้ตอ่อนแอ นอกจากนี้ยังมีปัญหาทางเทคนิคอีกประการหนึ่ง ระยะห่างระหว่างฟินาลิส B และโน้ตดินันท์ F ห่างกันเป็นคู่ 5 ดิมินิท์หรือขึ้นคู่สามเสียงซึ่งเป็นคู่ที่มีเสียงกระด้าง ในขณะที่ระยะห่างระหว่างโน้ตทั้งสองดังกล่างในโหมดอื่นๆเป็นคู่ 5 เพอร์เฟคทั้งสิ้น
       
โหมดรอง
            โหมดหลุ่มนี่เป้นโหมดที่เป็นเสียงช่วงต่ำ (Plagal mode) โหมดหลักและโหมดรองจะมีคู่กันเสมอโดยโหมดรองจะมีคำว่าไฮโป(Hypo) นำหน้าชื่อ ไฮโป แปลว่า ต่ำกว่า หรืออยู่ใต้และโหมดรองจะอยู่ต่ำกว่าโหมดหลักระยะคู่ 4 ฟินาลิสยังเป็นตัวเดียวกับโหมดหลัก ส่วนโน้ตโดมินันท์ของโหมดรองจะอยู่ต่ำกว่าโน้ตโดมินันท์ของโหมดหลักเป้นคู่ 3 เว้นแค่กรณีเมื่อนับคุ่ 3 แล้วตกบนโน้ต B ซึ่งจะต้องถูกปรับขึ้นป็นโน้ต C
         โหมดรองมีทั้งหมด 7 โหมด ดังนี้
            1.โหมดไฮโปไอโอเนียน(hypoionian mode)คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น C มีช่วงเสียงระหว่าง G-G ประกอบด้วยโน้ต G A B C D E F G ถ้าดผิวเผินจะพบว่าโหมดไฮโปไอโอเนียนเหมือนฌหมดมิกโวเดียนทุกประการ แต่อันที่จริงโหมดทั้งสองเหมือนกันที่ช่วงเสียงแต่กตางกันที่ฟินาลิสและโดมินันท์ ฟินาลิสของโหมดมิกโซลิเดียนคือ G แต่ฟินาลิสของโหมดไฮโปไอโอเนียนคือ C ส่วนโดมินันท์ของโหมดมิกโซลิเดียนคือ D แต่ของไฮโปไออเนียนคือE วิธีหาโน้ตของโหมดไฮโปไอโอเนียน คือให้อิงโน้ตโดมินันท์ของโหมดหลักที่คู่กันได้แก่โหมดไอโอเนียนแล้วนับลงาคู่ 3 โน้ตโดมินันท์ของโหมดๆอโอเนียนคือ G เมื่อนับลงมา 3 คู่จะด้แก่ E ฉะนั้นโน้ตโดมินันท์ของโหมดไฮโปไอโอเนียนจึงเป็นโน้ต  E
        2. โหมดไฮโปโดเรียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป้น D มีช่วงเสียงระกหว่าง A-A ประกอบด้วยโน้ต ABCDEFGA ส่วนโน้ตโดมินันท์คือ F อยู่ต่ำกว่าเอ
3. โหมดไฮโปฟริเจียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น E มีช่วงเสียงนะหว่าง B-B ประกอบด้วยโน้จ B C D E F G A B ในที่นี้โน้ตโดมินันท์ของโหมดหลักที่คู่กันคือ C (ถูกปรับขึ้นครึ่งเสียงจากบี) ฉะนั้นโน้ตโดมินันท์ ของโหมดไฮโปฟริเจียนจึงเป็นโน้ต A เพราะอยู่ต่ำกว่า C เป็นคู่ 3
 4 โหมดไฮโปลิเดียน คือโหมดที่มีฟินาลิสเป็น F โน้ตดินันท์คือ A มีช่วงเสียงระหว่าง C-C ประกอบด้วยโน้ต C D E F G A B C เนื่องจากในโหมดฟริเจียนและโหมดลิเดียนมีโน้ตโดมินันทฺเป็นตัว

วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

วิชาวิถีพลโลก ดนตรีอินเดีย

-->
ดนตรีอินเดีย
            พื้นฐานของทำนองในดนตรีอินเดียประกอบไปด้วย นาทะ ศรุติ สวระ ครามะ และราคะ  องค์ประกอบทุกส่วนล้วนเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน จากนาทะให้เกิดเป็นศรุติ บนรากฐานของศรุติจุดประกายเป็นสวระ  การจัดระเบียบจำนวนศรุติของสวระเกิดจากครามะ และจากรากฐานของเสียงที่เลืแกสรรแล้วเกิดเป็นภาวะความงามของราคะ
1 . เสียง (นาท)
            นาทะเป็นคำภาษาสันสกฤตแปลว่า เสียง ในภาษาบาลีใช้คำว่า “นาโท” หากเขียนและออกเสียงฉบับของสำนักราชบัณฑิตยสถานจะเป็น “นาท” ท่านศรางคเทพ นักดนตรีวิทยาที่มีชื่อเสียงในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 ได้กล่าวถึงเรื่องของนาทะในตำรงสังคีตรัตนากรว่านาทะเป็นคำที่เกอดขึ้นจากคำที่ผสมกัน 2 คำ คือ นะ และ ทะ นะ หมายถึง การหายใจ และ ทะ หมายถึง พลังงาน (การเปล่งออก) การรวมพลังของอาการทั้งสองทำให้เกิดสิ่งที่เรียกว่านาทะ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิดคือ อาหตะ และ อนาหตะ อาหตะเป็นเสียงที่เกิดจากการกระทบกันของวัตถุสิ่งของและจากเสียงร้องของมนุษย์ เสียงในลักษณะนี้มีจุดเริ่มและจุดจบซึ่งมนุษย์สามารถที่จะรับรู้ได้ เสียงลักษณะนี้เป็นเสียงที่เกี่ยวข้องกับดนตรี เป็นเสียงที่ให้ความสุข ความไพเราะและเพลิดเพลินเจริญใจแก่มนุษย์ ส่วนเสียงอนาหตะนั้นเป็นเสียงที่เกิดจากกานสั่นสะเทือนจากเบื้องบนที่ไม่ได้เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เสียงชนิดนี้มนุษย์ธรรมดาไม่สามารถสัมผัสได้ เว้นแต่มนุษย์จะได้ฝึกปฎิบัติธรรมชั้นสูงจนเป็ยโยคีบุคคล และใช้เป็นกานสื่อสารกับพระเจ้า เสียงในลักษณะนี้จะไม่มีความเกี่ยวข้องใดๆ กับเรื่องของดนตรี แต่จะมีความสัมพันธ์กับศาสนาเสียงประเภทอาหตะที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์นั้นเกิดจากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ ความเข้มของเสียง (lntensity) ขั้นคู่ (lnterval ) และคุณลักษณะของเสียง (timber)  สำหรับคุณลักษณะหรือแหล่งของเสียงประเภท อาหตะ นั้น ตำราสังค์ตมกะรันทะ ซึ่งเป็นตำราดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้กล่าวสามารถเกิดได้ใน 5 ลักษณะคือ
-                เกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย
-                เกิดจากการใช่ลมเป่า
-               เกิดจากวัตถุที่เป็นก้อนกระทบกัน
-               เกิดจากการสั่นสะเทือนของหนัง
-               เกิดจากเสียงร้องของมนุษย์
2. โน้ตเสียงเต็ม (สุทธะ  สวระ)
         จากการศึกษาถึงพัฒนาการของระบบเสียงในอินเดีย  พบว่าระบบขั้นค
ของเสียงและการเรียกชื่อสวระ (โน๊ต) มีหลักเกณฑ์และการเรียกชื่อที่แตกต่างกันไปตามบุตสมัยเริ่อตั้งแต่ในสมัยพระเวท  สมัยนาฏยศาสตร์ เรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน
  ในสมัยตั้งแต่คริสต์ศตวรรณที่ 1 ถึง 14 หน่วยเสียงของดนตรีอินเดียประกอบไปด้วย 22 ศรุติ และศรุติเหล่านี้กำเนิดเป็นสวระทั้ว 7 ศรุติทั้ง 2 และ สวระทั้ง 7 นี้ต่างจัดระเบียบขั้นคู่ในรูปแบบของครามะแลละชาติ  ความสัมพันธ์ของระบบต่างทั้งหลายเหล่านี้ได้ถูกกลืนหายไปกับการเปลี่ยนแปลงของระเบียบกำหนดแบบใหม่ ตามหลักทฤษฏีของดนตรีอินเดียในปัจจุบันมีเสียงชนิดเต็มหรือ “ สุทธะ สวระ “ อยู่เสียง คือ สัทชะ ริชะภะ คานธาระ มัธยม ปัญจมะ ไธวตะ และนิษาทา สุทธะ สวระ หรือ โน้ต เสียงเต็มทั้ง 7 เหล่านี้ นิยมเขียนสั้น ๆ เป็น สะ ริ คะ มะ ปะ ธะ นิ แต่ในการออกเสียงปฏิบัติ จริงๆ แล้ว จะออกเสียงยาวเป็น สา รี กา มา ปา ธา นี เกิดอาการกล้องบริเวณทรวงอก เสียในช่วงเสียงกลาง (มัธยมะ) จะเกิดอาการกล้องบริเวณรำคอและเสียงในช่วงทบเสียงสูง (ตาระ) จะเกิดอาการกล้องบริเวณศรีษะ
5.  บัณไดเสียงหลัก (ถาตะ และ เมลา)
   ระบบจัดระเบียบบัณไดเสียงในดนตรีอินเดียสมัยก่อนราชวงศ์โมกุล(คริสต์ศตวรรษที่16) ดังกล่างนั้น รูปแบบ
ลักษณะต่างๆที่ไกล้เครียงกันมากของดนตรีอินเดียทั้งในแทบเหนือและใต้ยังมีลักษณะที่ใกล้เครียงกันมากระเบียบการจัดเสียงมีความเป็นเอกาพมากกว่าปัจจุบันในชวงราชวงศ์โมกุล ซึ่งมีผู้ปกคลองเป็นชาวมุสลิมอินเดียในแถบภาคเหนือได้มีการผสมผสานปฎิสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมฮินดูและมุสลิมในศิลปะหลายแขนงอัณรวมถึงดนตรีในชวงนี้เองทำไห้ลักษณะของดนตรีในภาคเหนือและใต้เริมมีความแตกต่างกันชัดเจนมากยิงขึ้น จนเกิดมีเป็นคำที่ใช้แบ่งแยกวัฒนธรรมดนตีของทั้งสองภาค ฮินดูสถานิสังคีตและกาละนาตักสังคีตในปัจจุบัณนันเอง
5.1 บันไดเสียงหลักของฮินูสถานิกสังคีต(ถาตะ)
ในช่วงปลาย ค.ศ. 19ถึงต้น ค.ศ. 20ภาคคานเดย์นักดนตรีวิทยาที่มีชื่อเสียงของอินเดียได้จัดระบบหมวดหมู่ของบันได้เสียงแบบไหม่เรียกว่า ถาตะ ออกเสียงว่าถาต เป็นจำนวน10ถาตระบบนี้จัดเป็นระบบที่ได้รับความนิยมและยึดถือปฎิบัติกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัณระบบถาตทั้ง10ชุดเสียงประกอบไปด้วยกลุมโนตดังนี้
 บันไดเสียง (Scale)
บันไดเสียง หมายถึง 5-12 ตัวเรียงกันตามลำดับ บันไดเสียงมีหลายชนิด แต่ละนิดโครงสร้างต่างกัน
ซึ่งทำให้บันไดเสียงแต่ละชนิดมีเสียงโดยรวมต่างกัน คำว่า สเกล(Scale) มาจากภาษาอิติลี่ สกาลา (scalar)
ซึ่งแปลตรงตัวว่า ขั้นบันได ฉะนั้น บันไดเสียงจึงต้องเป็นโน้ตที่เรียงกันตามลำดับจากต่ำไปสูง หรือ จากสูงไปต่ำ บันไดเสียงหลักในดนตรีตะวันตก มี 2 ประเภท ได้แก่ บันไดเสียง ไดฮาโทนิก และบันไดเสียง โครมาติก
   บันไดเสียงไดฮาโทนิก เป็นบันไดเสียงที่ประกอบด้วย 7 ตัวโน้ต ตัวเรียงตามลำดับอักษรครบทั้ง 7 แต่โน้ต  1 ตัวมักจะถูกซ้ำเพื่อให้ครบ ช่วงคู่ 8 บันไดอาโทนิก ที่สมบูรณ์ จึงประกอบด้วย 8 ตัวโน้ต บันไดอาโทนิกมี 2 ชนิด คือ บันไดเสียง MOJOR และ MINOR
บันไดเสียงไมเนอร์(MINOR) มี 3 ชนิด
1 บันไดเสียงแบบ เนเจอรัล (Natural minor scale)
เป็นบันไดเสียงไมเนอร์ที่ได้จากการหาเครื่องหมายประจำกุญแจเสียง เช่ย เมื่อทราบเครื่องหมายประจำกุญแจเสียงสำหรับบันไดเสียง Am ว่าไม่มีเครื่องหมาย ชาร์ป หรือ แฟล็ต เพราะเป็น กุญแจเสียงรวมกับ C major ซึ่งไม่มีเคื่องหมายประจำกุญแจเสียง ก็เขียนโน๊ตเรืยงกันลำดับตามปกติ คือ เริ่มต้นที่โน้ต A เป็นโทนิก ตามด้วย B C D E F G A ตัวอย่างบันไดเสียงบน Am แบบเนอเชอรัล บันไดเสียงไมเนอร์ที่ใช้ในการประพันธ์เพลง มีอยู่ 2แบบ ได้แก่ แบบ ฮาร์ดมนิก และ แบบเมโลดิก บันไดไมเนอร์ทั้ง 2 แบบ สามารถปรับจาก บันไดเสียงไมเนอร์แบบเนอเชอรัลได้
ตัวอย่างบันไดเสียง Am แบบฮาร์โมนิก
บันไดเสียงแบบฮาร์ดมนิก มีที่ใช้มากกว่าแบบ เมโลดิก เพราะอันที่จริงแล้ว บันไดเสียง ไมเนอร์ แบบฮาโมนิก จะดป็นหลัก เมื่อต้องการใช้บันไดเสียง ไมเนอร์หรือ กุญแจเสียงไมเนอร์ ส่วนแบบ  เมโลดิก มีที่ใช้เฉพาะ เมื่อเกิดปัญหา เกียวกับคู่เสียงขอทำนองในแนวนอน คำว่า ฮาร์มิก เป็นคำคุณศัพท์ของ ฮาร์ดมนี่ ซึ่งหมายถึงเสียงประสาน (เสียงที่เกิดในแนวตั้ง)
ส่วนเมโลดิก เป็นำคุณศัพท์ของเมโลดี้ ซึ่งหมายถึง ทำนอง (เสียงที่เกิดในแนวนอน) ซึ่งสามารถเทียบบันไดเสียงกับ เมอเจอร์กับบันไดเสียงแบบฮาร์โมนิก ได้ดังนี้

บันไดเสียง Am แบบฮาร์โมนิก   A B C D E F G# A
บันไดเสียง A                            A B C# D E F# G# A
บันไดเสียงเมเจอร์ และบันไดเสียงไมเนอร์แบบฮาร์โมนิก มีโน้ตต่างกันอยู่ 2 ตัว ได้แก่ โน้ตตัวที่ 3 และโน้ตตัวที่ 6 มรบันไดเสียงไมเนอร์ แบบฮาโมนิก โน้ตตัวที่ 3 ห่างจากโทนิเป็นระยะคู่ 3 ไมเนอร์ ส่วนโน้ตตัวที่ 6 ห่างจากโน้ตดทนิกเป็นคู่ 6 ไมเนอร์ สำหรับ บันไดเสียงเมเจอร์ขั้นคู่ระหว่างโทนิกกับตัวโน้ตตัวที่ 3 และ 6 เป็นคู่ 3 เมเจอร์ เป็นคู่ 3 เมเจอร์และคู่ 6 เมเจอร์ตามลำดับและตัวโน้ตัวที่ 3 และ 6 นี้เองที่ทำให้เกิดความรู้สึกแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างบันไดเสียงทั้ง 2 แบบ

3 บันไดเสียงไมเนอร์แบบ เมโลดิก (Melodic minor scale) คือบันไดเสยงไมเนอร์แบบเนเชอรัลที่ปรับซับมีเดียนหรือโน้ตตัวที่ 6 และโน้ตลีดดิงหรือโน้ตตัวโน้ตตัวที่ 7 สูงขึ้นคึ่งเสียงสำหรับบันไดเสียงขาขึ้น ส่วนบันไดขาลงโน้ตทั้ง 2 ถูกปรับสูงขึ้น และจะถูกปรับอีกครั้งให้กลับมาเป็นเหมือนเดิม  กล่าวคือ บันไดเสียงไมเนอร์ขาลง จะเป็นกับแบบเนเชอรัลทุกประการ และบันไดเสียงไมเนอร์แบบเมโลดิกนี้ เป็นบันไดเสียงแบบเดียวที่โน้ตขาขึ้นกับขาลงไม่เหมือนกัน การสร้างบันไดเสียงไมเนอร์แบบเมโลดิกจึงมีความจำเป็นตั้งทั้งขาขึ้นและลง
 สังกตว่าบันไดเสียงไมเนอร์แบบฮาร์โมนิก ต่างกับแบบเมโลดิกขาขึ้น ตรงตัวโน้ตที่ 6 ซึ่งในแบบฮาร์โมนิกไม่มีการปรับ
แต่ในแบบเมโลดิกต้งปรับให้สูงขึ้นครึ่งเสียง สำหรับโน้ตตัวอื่นๆ ของบันไดเสียง ไมเนอร์ทั้ง 2 แบบ นั้นเหมือนกัน และถ้าเปรียบเทียบกับบันเสียงไมเนอร์แบบฮาร์โมนิกกับแบบโมดิกขาลง ก็จะพบวา โน้ตที่ต่างกันคือ โน้ตตัวที่ 7 กล่าวคือ โน้ตตัวที่ 7 ขอนไดเสียงไมเนอร์แบบฮาโมนิกถูกปรับแต่งให้เสียงสูงขึ้นครึ่งเสียง ในขณะที่โน้ตตัวที่ 7 ของแบบเมโลดิกขาลงไมถูกปรับ




วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

โหมดเสียงดนตรีอาเซียน เสียงดนตรีอินโดนีเซีย


ดนตรีอินโดนีเซีย
Gamelan เป็นชื่อเรียกวงดนตรีของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีทั้งหมด3ประเภท คือ
° Gamelan Sunda
°Gamelan Java
°Gamelan Bali
         ซึ่งในแต่ละประเภทการเทียบเสียง (Tuning  System)  ก็แตกต่างกันและเครื่องดนตรีในวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน  แต่ละประเภทจะมีระบบการเปรียบเทียบเสียงอยู่ 2 ระบบ  คือ Pelog และ Slendro ดังที่จะแสดงให้เห็นด้ดังนี้
            1.ระบบ pelog
                                                                                          7
                                                                                 6       pi
                                                                        5       nem
                                                               4       ma                                                                                    3       pat
                                             2       ru
                                    1       ro
                                    Ji
           


2.ระบบ Slendro
                                                                                          1
                                                                                 6       pi
                                                                                                5       nam
                                                               3       mo
                                                      2       ru
                                             1       ro                               
                                             Ji

         บทเพลงที่บรรเลงในวง Gamelan  ก็มีชื่อเรียกประเภทของบทเพลงที่บรรเลงแตกต่างกันออกไป เช่นดียวกับดนตรีไทยที่มีบทเพลงประเภทต่างๆ เช่นกัน
            โดยสามารถแบ่งออกได้ทั้งหมด 3 ประเภทหลัก คือ
            1.Upacara
         2.Mengiringi Pertunjukan Tari
         3.Mengiri pertunjukan Wayang
         และในแต่ละประเภทก็มีการแบ่งประเภทของเพลงอีก  ว่าเป็น  เพลงประเภทบรรเลงอย่างเดียวไม่มีร้อง หรือเพลงประเภทบรรเลงคลอร้อง เป็นต้น ซึ่งเพลงบรรเลงจะไม่มีร้อง จะไม่มีบันไดเสียง เนื่องจากจะกำหนดตายตัวอยู่แล้วว่าเพลงนี้จะต้องบรรเลงด้วยโน็ตนี้อยู่แล้วว่าเพลงนี้จะต้องบรรเลงด้วยโน้ตนี้เท่านั้น ไม่มีการเปลี่ยนเสียงในการบรรเลง เช่น เพลง MANYAR SEWU
Lancaran:MANYAR SEWU/Slendro
                                                            3/3    3/3  N
Ø  Buka Bonang:      -   1  -   6  -   1  - 6  -     5   -    (3)
A.T                     T N T P T N T P T N T P T N
         5                    3    5     3     5    2    3    5
         6                   5    6     5     6    5    3     2       
            3                    2    3     2     3    2    1     6
         1                   6     1    6     1    6    5    (3)
                                                               5  2  5  3 -> B
B.T       T  N  T  P  T  N  T  P  T  N  T  P  T  N
   5 2  5  3  5  2  5 3   5  2  5 3   6 3  6  5
   6 3  6  5  6  3  6  5  6  3  6 5   3 1  3  2
   3 1  3  2  3  1  3  2  3  1  3 2   1  5 1  6
   1  5  1 6  1  5  1  6  1  5  1 6   5  2 5 (3)
                    (Saron @ Demung )
35323533  35323533  35323533  56535655
56535655  56535655  56535655  23212322
23212322  23212322  23212322  61656166
61656166  61656166  61656166  35323533 

      
            แต่ถ้าในเพลงนั้นเป็นเพลงประเภทที่มีกาบรรเลงคลอร้อง  จะมีบันไดเสียงและสามารถเปลี่ยนโน้ตในการบรรเลงได้  เช่น เพลง Ilir – Ilir
       T    T  N  T  P  T  N  T  P  T  N  T  P  T  N
          1    6      1     6       6     3      6     5
          3    3      6     5       2     1      2     6
        และเป็นที่น่าสังเกตอีกว่าในการบรรเลง Gamelan นั้น  ก็มีการแปรทำนองเช่นเดียวกันกับดนตรีไทยและดนตรีสากล  โดยเครื่องดนตรีที่จะยกตัวอย่างคือ
โบนัง  ( Bonang ) ซึ่งเป็นฆ้องประเภทหนึ่ง  โดยการแปรทำนองของโบนังนั้นจะแปรทำนองมาจากทำนองหลัก  ซึ่งส่วนมากก็คือเครื่องดนตรีพวก ซารอน( Saron )
การแปรทำนองของโบนังนั้น  ภาษาอินโด  เรียกว่า อิมบาว์ล ( Imbal )  ก็คือโหมดนั่นเอง  ดังจะยกตัวอย่างให้เห็นดังต่อไปนี้
         Saron                            Imbal  Bonang
       - 2– 1–2–1:   -  1  -  1  -  1  -  -  1  1  -  1  -  1  -  1
                    -  1  -  1  -  1  -  -  1  1 -   1  -  1  -  1
- 3 - 2 -3- 2:   -  -  2  3  -  -  -  3  -  2   -   -   -   -   -  2
                    6 1 -   -   - 1  -  -   -   -   -   6  1  6  1 –
- 5 - 6- 1- 6:   -  -  2  3  -  -  -  3  3  -   -   -    -   -    -  -   
                    6  1  -  -  -  1  -  -  -   1  3  5  6  1  6 6
- 5 - 3- 5- 3:   -  -  2  3  -  -  -  3   -   -  -    -   -   -    -   -
                   6 1  -   -  -  1  -  -    -  2 5  3  5  2  5  3
- 3 - 5- 6- 5:   -  -  2  3 -   -   - 3   -   -  -   2   -   -   -    -
                   6 1  -   -  -  1  -  -    -  6  1  -   1  6  1  5
      การแปรทำนองที่ยกตัวอย่างมานี้  จะเป็นไปในลักษณะนี้และ ให้สัง
เกตจากลูกตกท้ายห้องเป็นหลักการในแปรทำนองของโบนัง
AYAK  -  AYAK  Slendro
A.    Buka Kendhang:  b  .  b  .  (2)
P     N    P    N     P    N    P    N
-   3  -  2  -  3  -  2  -  5  -  3  -  2  (1)
B.
T  P  T  N     T  P  T  N      T  P  T  N
2  3  2  1    2  3  2  1      3  5  3  2

       3  5  3  2    5  3  5  6      5  3  5  6

5  3  5  6     5  3  2  3     5  6  3  (2)
                                                         T  P   T  N
3  5  3  2      3  5  3  2    5  6  5   3    2  3  2  (1)    
C.Srepeg:
N  NP  N  NP      N  NP  N  NP     N  NP  N  NP
2   1    2   1        3   2     3   2       5   6    1   (6)
1   6    1   6        5   3     5   3       6   5    3   (2)
3   2    3   2        5   3     5   3       2   3    2   (1)
D.Sampak:
P  P  P  P      P  P  P  P      P  P  P  P
1 1  1  1     2  2  2  2     6  6  6 (6)
6  6  6  6    3  3  3  3     2  2  2 (2)
2  2  2  2    3  3  3  3     1  1  1 (1)
                  3  3  3  3     1   -   1 (-)
Kendang     d t –d t d b    b   -   b  -
Suwuk  (stop)
P  P  P  P      P  P  P  P      P  P  P  P
1  1  1 1     2  2  2 2      3  2  1(6)

C.Saron
    2321   2321  3532  3532   6356  56i6
    56i6    56i6   2353  2353   6535  6532
    3532   3532  5653  5653  2321   2321
 Imbal  Bonang
-      2  -  1  -  2  - 1:  - 1 - 1 - 1 - - 1 1 - 1 - 1- 1
                           - 1 -  1 -1 - -  1 1 – 1-1- 1
-  3  - 2  -  3  -  2:  - -  2 3 - -  - 3 – 2 - - - - - 2
                           61 -  -  -1 -  -  -  -  - 6161-
-  5  - 6  -  1  - 6:   -  - 2 3 - -  - 3 3 -  - -  - -  - -
                       6 1 -  - - 1 -  -  - 1 356166
     -  5 -  3  -  5  - 3:  -   - 2 3 - -  - 3  - -  - -  - -  - -
                      6 1  - -   -1  - -  - 2 535253
   -  3  -  5 -  6 -  5:  -   -  23 - -   -3  - -  - 2 -  -  - -
                            6 1  - - - 1-  - -  61 – 1 6 1 5
D. Sampak:
       1  1  1  1 2  2  2  2  6 6  6  (6)       (Saron)
      2  2   2  2   3  3  3  3   1  1  1  1           (Slentem)
        6  6   6   6  3  3  3  3   2  2  2  (2)
      1  1  1   1   5  5  5  5   3  3  3   3 
        2  2  2   2   3  3  3  3  1  1   1   (1)
       3  3  3  3   5   5  5  5  2  2  2   2