ดนตรีอินโดนีเซีย
Gamelan
เป็นชื่อเรียกวงดนตรีของประเทศอินโดนีเซีย
ซึ่งมีทั้งหมด3ประเภท คือ
° Gamelan Sunda
°Gamelan Java
°Gamelan Bali
ซึ่งในแต่ละประเภทการเทียบเสียง (Tuning System)
ก็แตกต่างกันและเครื่องดนตรีในวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน แต่ละประเภทจะมีระบบการเปรียบเทียบเสียงอยู่ 2
ระบบ คือ Pelog และ
Slendro ดังที่จะแสดงให้เห็นด้ดังนี้
1.ระบบ pelog
7
6 pi
5 nem
4 ma 3 pat
2 ru
1 ro
Ji
2.ระบบ Slendro
1
6 pi
5 nam
3 mo
2 ru
1 ro
Ji
บทเพลงที่บรรเลงในวง Gamelan ก็มีชื่อเรียกประเภทของบทเพลงที่บรรเลงแตกต่างกันออกไป
เช่นดียวกับดนตรีไทยที่มีบทเพลงประเภทต่างๆ เช่นกัน
โดยสามารถแบ่งออกได้ทั้งหมด
3 ประเภทหลัก คือ
1.Upacara
2.Mengiringi
Pertunjukan Tari
3.Mengiri pertunjukan
Wayang
และในแต่ละประเภทก็มีการแบ่งประเภทของเพลงอีก ว่าเป็น
เพลงประเภทบรรเลงอย่างเดียวไม่มีร้อง หรือเพลงประเภทบรรเลงคลอร้อง เป็นต้น
ซึ่งเพลงบรรเลงจะไม่มีร้อง จะไม่มีบันไดเสียง
เนื่องจากจะกำหนดตายตัวอยู่แล้วว่าเพลงนี้จะต้องบรรเลงด้วยโน็ตนี้อยู่แล้วว่าเพลงนี้จะต้องบรรเลงด้วยโน้ตนี้เท่านั้น
ไม่มีการเปลี่ยนเสียงในการบรรเลง เช่น เพลง MANYAR SEWU
Lancaran:MANYAR
SEWU/Slendro
3/3 3/3 N
Ø Buka Bonang: - 1
- 6
- 1 - 6 - 5 - (3)
A.T T N T
P T N T P T N T P T N
5 3
5 3 5
2 3 5
6 5 6
5 6 5
3 2
3 2
3 2 3
2 1 6
1 6 1
6 1 6
5 (3)
5 2
5 3 -> B
B.T T
N T P
T N T
P T N
T P T N
5 2
5 3 5
2 5 3 5
2 5 3 6 3
6 5
6 3
6 5 6
3 6 5
6 3 6 5 3
1 3
2
3 1
3 2 3
1 3 2
3 1 3 2
1 5 1 6
1
5 1 6 1
5 1 6
1 5 1 6
5 2 5 (3)
(Saron @ Demung )
35323533 35323533
35323533 56535655
56535655 56535655
56535655 23212322
23212322 23212322
23212322 61656166
61656166 61656166
61656166 35323533
แต่ถ้าในเพลงนั้นเป็นเพลงประเภทที่มีกาบรรเลงคลอร้อง จะมีบันไดเสียงและสามารถเปลี่ยนโน้ตในการบรรเลงได้ เช่น เพลง Ilir – Ilir
T T
N T P T N
T P T
N T P
T N
1 6
1 6 6
3 6 5
3 3
6 5 2
1 2 6
และเป็นที่น่าสังเกตอีกว่าในการบรรเลง Gamelan
นั้น ก็มีการแปรทำนองเช่นเดียวกันกับดนตรีไทยและดนตรีสากล โดยเครื่องดนตรีที่จะยกตัวอย่างคือ
โบนัง (
Bonang ) ซึ่งเป็นฆ้องประเภทหนึ่ง
โดยการแปรทำนองของโบนังนั้นจะแปรทำนองมาจากทำนองหลัก ซึ่งส่วนมากก็คือเครื่องดนตรีพวก ซารอน(
Saron )
การแปรทำนองของโบนังนั้น ภาษาอินโด เรียกว่า อิมบาว์ล (
Imbal ) ก็คือโหมดนั่นเอง ดังจะยกตัวอย่างให้เห็นดังต่อไปนี้
Saron Imbal Bonang
- 2– 1–2–1: -
1 - 1
- 1 -
- 1 1
- 1 -
1 - 1
- 1
- 1 -
1 - - 1 1 -
1 - 1
- 1
- 3 - 2 -3- 2: - -
2 3 -
- - 3
- 2 - - - - - 2
6 1
- -
- 1 - -
- - -
6 1 6 1 –
- 5 - 6- 1- 6: - -
2 3 -
- - 3
3 - -
- - -
- -
6
1 - -
- 1 -
- - 1
3 5 6
1 6 6
- 5 - 3- 5- 3: - -
2 3 -
- - 3
- - - - - - - -
6 1 -
- - 1
- - - 2
5 3
5 2 5 3
- 3 - 5- 6- 5: - -
2 3 - - -
3 -
- - 2
- - - -
6 1 -
- - 1
- - -
6 1 -
1 6 1 5
การแปรทำนองที่ยกตัวอย่างมานี้
จะเป็นไปในลักษณะนี้และ ให้สัง
เกตจากลูกตกท้ายห้องเป็นหลักการในแปรทำนองของโบนัง
AYAK - AYAK Slendro
A.
Buka Kendhang:
b . b
. (2)
P N
P N P
N P N
- 3 -
2 - 3 - 2 - 5
- 3 -
2 (1)
B.
T P T
N T P T N
T P T N
2 3 2
1 2 3 2 1
3 5 3 2
3
5 3 2
5 3 5
6 5 3
5 6
5 3 5
6 5 3 2 3
5 6 3 (2)
T P
T N
3 5 3
2 3 5 3 2 5 6
5 3 2
3 2 (1)
C.Srepeg:
N NP N
NP N NP N NP
N NP N NP
2 1 2
1 3 2
3 2 5
6 1 (6)
1 6 1
6 5 3
5 3 6
5 3 (2)
3 2 3
2 5 3
5 3 2
3 2 (1)
D.Sampak:
P P P
P P P P P
P P P P
1 1 1 1
2 2 2 2 6
6 6 (6)
6 6 6
6 3 3 3 3
2 2 2 (2)
2 2 2
2 3 3
3 3 1
1 1 (1)
3 3
3 3 1
- 1 (-)
Kendang d t –d t d b b
- b -
Suwuk (stop)
P P P
P P P P P
P P P P
1 1 1 1
2 2 2 2
3 2 1(6)
C.Saron
2321 2321
3532 3532 6356
56i6
56i6 56i6
2353 2353 6535
6532
3532 3532
5653 5653 2321
2321
Imbal Bonang
- 2 -
1 - 2 -
1: - 1 - 1 - 1 - - 1 1 - 1 - 1- 1
- 1 - 1 -1 - -
1 1 – 1-1- 1
- 3 -
2 -
3 - 2: -
- 2 3 - - - 3 – 2 - - - - - 2
61 - - -1
- -
- - - 6161-
- 5 -
6 -
1 - 6: -
- 2 3 - - - 3 3 - - - -
- - -
6 1
- - - 1 - - - 1
356166
- 5 - 3 -
5 - 3: -
- 2 3 - - - 3 - - -
- - -
- -
6 1 - -
-1 - - - 2 535253
- 3
- 5 - 6 - 5: -
- 23 - - -3 -
- - 2 -
- - -
6
1 - - - 1- - - 61
– 1 6 1 5
D. Sampak:
1 1 1 1
2 2
2 2 6 6
6 (6) (Saron)
2 2
2 2 3 3 3
3 1 1
1 1 (Slentem)
6 6 6
6 3 3
3 3 2
2 2 (2)
1 1
1 1 5 5 5
5 3 3
3 3
2 2 2
2 3 3
3 3 1
1 1 (1)
3
3 3 3
5 5 5
5 2 2
2 2
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น