รายชื่อวิชา คำอธิบายรายวิชา สาขาวิชาเอกดุริยางคศิลป์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ศ31217 พื้นฐานดนตรี 1 (ทฤษฎีเบื้องต้น 1) 2 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน
1.0 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ศึกษาลักษณะค่าและจังหวะการนับของตัวโน้ต ตัวหยุดและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ ระดับเสียงและชื่อทางดนตรี ชื่อโน้ตต่างๆ
บันไดเสียงเมเจอร์ บันไดเสียงไมเนอร์
ระยะขั้นคู่เสียง ตรัยแอ็ดส์ ศัพท์และเครื่องหมายเพื่อการปฏิบัติ ฝึกทักษะการฟัง (Ear Training)
โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี
แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าดนตรี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี
มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ศ31218 พื้นฐานดนตรี 2 (ทฤษฎีเบื้องต้น 2) 2 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.0 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ศึกษาลักษณะตัวโน้ตและตัวหยุด เครื่องหมายกำหนดจังหวะ ชื่อโน้ตใหม่
การย้ายทำนองเพลง
บันไดเสียงเมเจอร์
บันไดเสียงไมเนอร์
ขั้นคู่เสียง ตรัยแอ็ดส์และการพลิกกลับ ศัพท์และเครื่องหมายเพื่อปฏิบัติ ฝึกทักษะการฟัง(Ear Training) โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี
แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าดนตรี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี
มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ศ31219 ดนตรีคอมพิวเตอร์
1 3
คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.5 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพื่อใช้ในงานดนตรี ในการบันทึกโน้ต ในรูปแบบต่างๆ โดยกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจและกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียน มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี
แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้
มุ่งมั่นในการทำงาน มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี
ศ31220 เปียโนปฏิบัติ
1 3 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.5 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ด
เปียโน
พื้นฐานให้มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานดนตรี โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี และการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจำวัน เล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ศ31221 ทักษะดนตรี 1 2 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.0 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี ตามความถนัดอย่างน้อย
1 ชิ้น โดยบรรเลงทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว
การดูแลรักษาเครื่องดนตรี โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี และการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจำวัน เล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ศ31222 ทักษะดนตรี 2 2 คาบ/สัปดาห์/ภาคเรียน 1.0 หน่วยการเรียน
คำอธิบายสาระการเรียนรู้
ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรี ตามความถนัดอย่างน้อย
1 ชิ้น โดยบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม และจัดการแสดง เป็นครั้งคราว การดูแลรักษาเครื่องดนตรี โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี และการถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ดนตรีในชีวิตประจำวัน เล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ
เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด
การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น