วันจันทร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

ประมวลรายวิชาศิลปะ 7 ดนตรีสากล

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ31101

2. รายชื่อวิชา ศิลปะพื้นฐาน 7 (ดนตรีสากล)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเปรียบเทียบวิเคราะห์ประเภทและรูปแบบของวงดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยประวัติดนตรีตะวันตก คีตกวี และบทเพลง ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม เทคนิค และการถ่ายทอดอารมณ์เพลงด้วยการร้องบรรเลงเครื่องดนตรีเดี่ยวและรวมวงเกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี คุณภาพและ คุณค่าของผลงานทางดนตรี การถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของงานดนตรีจากแต่ละวัฒนธรรม ดนตรีกับการผ่อนคลาย  ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์  ดนตรีกับการประชาสัมพันธ์ดนตรีกับการบำบัดรักษา  ดนตรีกับธุรกิจ ดนตรีกับการศึกษา

โดยกระบวนการวิเคราะห์ และกระบวนการทางประวัติศาสตร์ ในการถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรีและ แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับประเพณีวัฒนธรรม  และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์  

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าทางดนตรีถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

2. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล 

ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ศิลปะพื้นฐาน8(ดนตรีสากล)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการสุนทรียทางดนตรี

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในเล่นเครื่องดนตรี 1 ชิ้น 

    

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ดนตรีสากลในแต่ละยุคสมัยและประวัติคีตกวีตะวันตกและบทเพลง         

2. ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม 

3. ดนตรีกับการนำไปประยุกต์ใช้ในงานอื่นๆ                          

4. ร้องเพลงและการปฏิบัติเครื่องดนตรี เกณฑ์การประเมินคุณภาพของบทเพลง       

                                                                     

3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)



4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 25

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0



5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

2 2 บทบาทของดนตรีสากลในการสะท้อนสังคม

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

3 3 วิวัฒนาการของดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

4 4 ประวัติคีตกวีด้านดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

5 5 ประเภทของวงดนตรี

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

6 6 คุณค่าและความงามของดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

7 7 ดนตรีสากลกับการประยุกต์ใช้

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 ประเภทของเพลงสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

9 9 ดนตรีสากลกับสังคมไทย

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

10 10 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงค่านิยมของสังคมไทย

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

11 11 คีตกวีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

12 12 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

13 13 รูปแบบการบรรเลงดนตรีสากลและขับร้อง

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

14 14 ศัพท์สังคีตในดนตรีสากล

ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล(ไวโอลิน) 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






ประมวลรายวิชาสหวิทยาการดนตรี ม3

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ง23206

2. รายชื่อวิชา สหวิทยาการ(ดนตรี)

3. จำนวนหน่วยกิต 0.5 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3

7. ประเภทวิชา วิชาเลือก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกโสตประสาท  ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลอย่างน้อย 1 ชิ้นตามความถนัด  โดยฝึกบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม  และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว  การดูแลรักษาเครื่องดนตรี  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัด 

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่าง    อิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น       เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร  การคิด  การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี  มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข  ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์  อันได้แก่ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน                รักความเป็นไทย  ซื่อสัตย์สุจริต  อยู่อย่างพอเพียง  มีจิตสาธารณะ  มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี


ผลการเรียนรู้


1. เพื่อสามารถเข้าใจวิธีการสอบปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล

2. เพื่อสามารถเข้าใจหลักการสอบทฤษฎีดนตรีสากล

3. เพื่อสามารถเข้าใจหลักการสอบทฤษฎีการฟัง





ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา สหวิทยาการดนตรี


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน         

                     

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน  

                                                   

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

 1.      ทฤษฎีเพื่อประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล 3

 2.      เทคนิคปฏิบัติเพื่อการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลและบันไดเสียง 3

 3.      ปฏิบัติบทเพลงเดี่ยว บทเพลงกลุ่มและการแสดงดนตรี 3

 4.      การดูแลรักษาเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมดนตรี 3


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

2 สอบกลางภาค บทเพลง 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

4 สอบปลายภาค บทเพลง      25

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน


1.

สัปดาห์ที่/คาบที่ สาระการเรียนรู้

(เนื้อหา) กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดผล/

ประเมินผลระหว่างเรียน

1 แนะนำวิชาเอกดุริยางคศิลป์ การเรียนการสอนวิชาเอก ข้อตกลง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

2 หลักการการสอบรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล เกรด1 อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

3 หลักการสอบทฤษฎีดนตรีการฟัง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

4 หลักการสอบการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

5 แนะนำวิชาเอกดุริยางคศิลป์ การเรียนการสอนวิชาเอก ข้อตกลง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

6 หลักการการสอบรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล เกรด1 อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

7 หลักการสอบทฤษฎีดนตรีการฟัง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

8 หลักการสอบการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

9 แนะนำวิชาเอกดุริยางคศิลป์ การเรียนการสอนวิชาเอก ข้อตกลง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

10 สอบกลางภาค ตารางสอบกลาง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน

11 แนะนำวิชาเอกดุริยางคศิลป์ การเรียนการสอนวิชาเอก ข้อตกลง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

12 หลักการการสอบรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล เกรด1 อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

13 หลักการสอบทฤษฎีดนตรีการฟัง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

14 หลักการสอบการปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

15 แนะนำวิชาเอกดุริยางคศิลป์ การเรียนการสอนวิชาเอก ข้อตกลง อธิบาย  สาธิต  ฝึกซ้อมในห้องเรียน สังเกต  พูดคุย ทดสอบ

16 สอบปลายภาค ตารางสอบกลาง การสอบปฏิบัติ การสอบปฏิบัติ





ประมวลรายวิชาเพิ่มเติมเลือกไวโอลิน ม2

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ32201

2. รายชื่อวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)

3. จำนวนหน่วยกิต 0.5 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2

7. ประเภทวิชา วิชาเลือก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกโสตประสาท  ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลอย่างน้อย 1 ชิ้นตามความถนัด  โดยฝึกบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม  และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว  การดูแลรักษาเครื่องดนตรี  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัด 

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่าง    อิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น       เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร  การคิด  การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี  มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข  ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์  อันได้แก่ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน                รักความเป็นไทย  ซื่อสัตย์สุจริต  อยู่อย่างพอเพียง  มีจิตสาธารณะ  มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อสามารถบรรเลงทักษะดนตรีเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

2. เพื่อสามารถบรรเลงร่วมกับผู้อื่นได้







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน         

                     

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโอลิน  

                                                   

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

 1.      ทฤษฎีเพื่อประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล 3

 2.      เทคนิคปฏิบัติเพื่อการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลและบันไดเสียง 3

 3.      ปฏิบัติบทเพลงเดี่ยว บทเพลงกลุ่มและการแสดงดนตรี 3

 4.      การดูแลรักษาเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมดนตรี 3


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

2 สอบกลางภาค บทเพลง 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

4 สอบปลายภาค บทเพลง      25

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 เมื่อสามารถกดและยกได้อย่างถูกต้องแล้วจึงใช้คันสีเพื่อตรวจสอบระดับเสียง/บทเพลง 2 คาบ

2 2 เมื่อมีความคล่องแล้ว จึงให้ฝึกการกดยกข้ามสาย  โดยใช้การเคลื่อนไหวของศอกซ้ายเพื่อช่วยในการข้ามสาย/บทเพลง 2 คาบ

3 3 ฝึกวางตำแหน่งมือขวาสำหรับการดีด/บทเพลง 2 คาบ

4 4 ฝึกการดีดสายให้ได้เสียงที่มีน้ำหนัก/บทเพลง 2 คาบ

5 5 อธิบายเรื่องการผสมกันระหว่างน้ำหนักมือ และตำแหน่งการใช้คันชักลงบนสาย/บทเพลง 2 คาบ

6 6 สาธิตการสีให้เกิดเสียงที่มีคุณภาพถูกต้อง/บทเพลง 2 คาบ

7 7 สาธิตตัวอย่างเสียงที่ไม่พึงให้เกิดจากการสี/บทเพลง 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 อธิบายความแตกต่าง และความสำคัญของคุณภาพเสียงที่แตกต่างกัน/บทเพลง 2 คาบ

9 9 สาธิตการใช้คันชักในลักษณะต่างๆ เพื่อให้เกิดเสียงที่แตกต่างกัน/บทเพลง 2 คาบ

10 10 ให้นักเรียนฝึกการสีบนสายเปล่าจำจังหวะจากVariation A และ B  และ C โดยที่ครูบรรเลงบนสายเปล่าจากนั้นจึงให้ผู้เรียนปรบมือจังหวะตาม  แล้วให้บรรเลงบนไวโอลิน/บทเพลง 2 คาบ

11 11 เพิ่มการกดสายตามทำนอง โดยมีครูบรรเลงตาม หรือบรรเลงทำนองหลักควบคู่ไปด้วย/บทเพลง 2 คาบ

12 12 ให้ผู้เรียนใช้คันชักขึ้น และลงตามจังหวะชุดสั้น  สั้น ยาวบนสายเปล่าก่อน  โดยให้สีระหว่างปลาย และโคนคันชักแล้วจึงให้บรรเลงตามบทเพลง/บทเพลง 2 คาบ

13 13 ให้ผู้เรียนฝึกการบรรเลงบันไดเสียง และอาเพจิโอ  ในรูปแบบ Detace /บทเพลง 2 คาบ

14 14 ทดสอบบทเพลงไวโอลิน 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ






ประมวลรายวิชาเพิ่มเติมเลือกไวโอลิน ม1

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ21201

2. รายชื่อวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1

7. ประเภทวิชา วิชาเลือก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาทฤษฎีการดนตรี โน้ตสากล ศัพท์สังคีต ฝึกโสตประสาท  ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลอย่างน้อย 1 ชิ้นตามความถนัด  โดยฝึกบรรเลงเดี่ยวและกลุ่ม  และจัดการแสดงเป็นครั้งคราว  การดูแลรักษาเครื่องดนตรี  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและบรรเลงดนตรีสากลที่ถนัด 

โดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกทางดนตรีอย่าง    อิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็น       เกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร  การคิด  การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต การใช้เทคโนโลยี  มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข  ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนได้พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์  อันได้แก่ รักชาติ  ศาสน์ กษัตริย์  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้  มุ่งมั่นในการทำงาน                รักความเป็นไทย  ซื่อสัตย์สุจริต  อยู่อย่างพอเพียง  มีจิตสาธารณะ  มีความเป็นผู้นำและชำนาญเทคโนโลยี


ผลการเรียนรู้

1. เพื่อสามารถบรรเลงทักษะดนตรีเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง

2. เพื่อสามารถบรรเลงร่วมกับผู้อื่นได้







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา เพิ่มเติมเลือกดนตรี(ไวโอลิน)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงไวโอลิน         

             

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีไวโฮลิน  

                                                   

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

 1.      ทฤษฎีเพื่อประกอบการบรรเลงเครื่องดนตรีสากล 1

 2.      เทคนิคปฏิบัติเพื่อการบรรเลงเครื่องดนตรีสากลและบันไดเสียง 1

 3.      ปฏิบัติบทเพลงเดี่ยว บทเพลงกลุ่มและการแสดงดนตรี 1

 4.      การดูแลรักษาเครื่องดนตรีและวัฒนธรรมดนตรี 1


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

2 สอบกลางภาค บทเพลง 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด,บทเพลง 20

4 สอบปลายภาค บทเพลง      25

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0










5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 สาธิตการจับถือคันชักโดยใช้มือขวาจับคันชักขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง  โดยนิ้วทุกนิ้วต้องอยู่ในรูปตัวซีโดยไม่เกร็ง/บทเพลง1 2 คาบ

2 2 สาธิตการวางไวโอลินบนบ่าอย่างถูกต้อง/บทเพลง2 2 คาบ

3 3 ฝึกการใช้คางหนีบไวโอลินให้ตั้งอยู่บนบ่าได้/บทเพลง3 2 คาบ

4 4 สาธิตท่านั่ง และยืนเพื่อความสมดุลย์ของน้ำหนักตัว โดยมีไวโอลินวางบนบ่า/บทเพลง4 2 คาบ

5 5 ให้แบบฝึกหัดการใช้คันสีบนสายเปล่าทั้งสี่สาย/บทเพลง5 2 คาบ

6 6 ผู้สอนจะแนะนำส่วนต่างๆของไวโอลินิและคันชัก การเช็ดถูสาย และตัวไวโอลินเมื่อเลิกใช้งาน/บทเพลง6 2 คาบ

7 7 อธิบายระดับคู่เสียงที่เทียบสายห่างเป็นคู่ห้าสำหรับสายแต่ละเส้น/บทเพลง7 2 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 เรียกชื่อสาย  โดยผู้เรียนชี้หรือดีดสายเส้นนั้น/บทเพลง8 2 คาบ

9 9 ผู้สอนชี้ไปยังสายเส้นใดเส้นหนึ่งแล้วให้ผู้เรียนบอกชื่อสายนั้นๆ/บทเพลง9 2 คาบ

10 10 อธิบายชื่อ และความหมายของบันไดเสียง/บทเพลง10 2 คาบ

11 11 อธิบายระดับคู่เสียงที่ใช้ในระบบดนตรีสากลสำหรับบันไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์/บทเพลง11 2 คาบ

12 12 อธิบายความหมายและความสำคัญของคีย์ซิกเนเจอร์/บทเพลง12 2 คาบ

13 13 อธิบายความหมายและความสำคัญของ Time Signature /บทเพลง13 2 คาบ

14 14 อธิบายเรื่องค่าตัวโน้ตชนิดต่างๆ และการนับจังหวะ/บทเพลง14 2 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ





ประมวลรายวิชาปฏิบัติเครื่องมือโท

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ31246

2. รายชื่อวิชา ปฎิบัติเครื่องมือโท

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน 1. อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีไทย หรือการขับร้อง ตามเครื่องมือเอกของนักเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเทคนิคการบรรเลงบทเพลงที่เหมาะสมกับธรรมชาติของเครื่องดนตรีตามเครื่องมือเอก การฝึกแบบฝึกหัด (Exercise, Etude) การฝึกเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 2ชาร์ป 2แฟลต เมเจอร์ไมเนอร์ ฝึกการอ่านโน้ตในจังหวะรูปแบบต่าง ๆ ฝึกทักษะการฟัง สำหรับเครื่องมือเอกดนตรีไทยอาจใช้การฝึกเทคนิควิธีการอื่น ๆ ที่เหมาะสม โดยทุกเครื่องมือเอกต้องจัดการแสดงในปลายภาคเรียนในรูปแบบ Recital โดยมีการบรรเลงประกอบหรือเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสมโดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. สำหรับดนตรีสากล สามารถเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 2 ชาร์ป 2 แฟลต  

   เมเจอร์ไมเนอร์ สำหรับดนตรีไทย สามารถฝึกเทคนิคอื่นที่ช่วยพัฒนาทักษะดนตรีให้ดีขึ้น

2. มีทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติที่ถูกต้อง

3. สามารถปฏิบัติแบบฝึกหัดแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

4. สามารถปฏิบัติเพลงที่กำหนดได้อย่างถูกต้องตามหลักการและสามารถทำการแสดงในรูปแบบ Recital ได้

ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ปฎิบัติเครื่องมือโท


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีตาม         

                     เครื่องมือโท

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีตามเครื่องมือ  

                                                    โท

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ฝึกไล่ Scale  ที่ยากขึ้น

2. ฝึกทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ

3. ฝึกปฏิบัติแบบฝึกหัด

4. ฝึกปฏิบัติเพลงที่กำหนด


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 ฝึกไล่ Scale  แบบฝึกหัด 20

2 ทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ แบบฝึกหัด 5

3 ปฏิบัติแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด 20

4 ปฏิบัติเพลงที่กำหนด แบบฝึกหัด 40

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน


1.

สัปดาห์ที่/

คาบที่ สาระการเรียนรู้

(เนื้อหา) กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการวัดผล/

ประเมินผล

ระหว่างเรียน

1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ สอบ P.Tests อธิบาย สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

2 สาธิตการจับถือคันชักโดยใช้มือขวาจับคันชักขั้นพื้นฐานอย่างถูกต้อง  โดยนิ้วทุกนิ้วต้องอยู่ในรูปตัวซีโดยไม่เกร็ง

อธิบาย แบบฝึกหัด 

ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

3 สาธิตการวางไวโอลินบนบ่าอย่างถูกต้อง

ฝึกการใช้คางหนีบไวโอลินให้ตั้งอยู่บนบ่าได้

สาธิตท่านั่ง และยืนเพื่อความสมดุลย์ของน้ำหนักตัว โดยมีไวโอลินวางบนบ่า อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

4 ให้แบบฝึกหัดการใช้คันสีบนสายเปล่าทั้งสี่สายผู้สอนจะแนะนำส่วนต่างๆของไวโอลินิและคันชัก การเช็ดถูสาย และตัวไวโอลินเมื่อเลิกใช้งานอธิบายระดับคู่เสียงที่เทียบสายห่างเป็นคู่ห้าสำหรับสายแต่ละเส้นเรียกชื่อสาย  โดยผู้เรียนชี้หรือดีดสายเส้นนั้นผู้สอนชี้ไปยังสายเส้นใดเส้นหนึ่งแล้วให้ผู้เรียนบอกชื่อสายนั้นๆ อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

5 บันไดเสียงอธิบายระดับคู่เสียงที่ใช้ในระบบดนตรีสากลสำหรับบันไดเสียงเมเจอร์ และไมเนอร์ คีย์ซิกเนเจอร์ Time Signature อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

6 ค่าตัวโน้ตชนิดต่างๆ และการนับจังหวะ

การวางนิ้วตำแหน่งที่ ๑  ในการวางมือซ้าย อธิบาย  แบบฝึกหัด สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

7 ให้ฝึกกดและยกนิ้วที่ละนิ้วโดยจะเริ่มจากนิ้วที่หนึ่ง  สอง  สามตามลำดับเมื่อสามารถกดและยกได้อย่างถูกต้องแล้วจึงใช้คันสีเพื่อตรวจสอบระดับเสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

8 เมื่อมีความคล่องแล้ว จึงให้ฝึกการกดยกข้ามสาย  โดยใช้การเคลื่อนไหวของศอกซ้ายเพื่อช่วยในการข้ามสายฝึกวางตำแหน่งมือขวาสำหรับการดีดฝึกการดีดสายให้ได้เสียงที่มีน้ำหนัก แบบทดสอบกลางภาคเรียน ตรวจข้อสอบ

9 การผสมกันระหว่างน้ำหนักมือ และตำแหน่งการใช้คันชักลงบนการสีให้เกิดเสียงที่มีคุณภาพถูกต้องเสียงที่ไม่พึงให้เกิดจากการสี อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

10 สอบปฏิบัติกลางภาค สอบ บันทึกคะแนน

11 อธิบายความแตกต่าง และความสำคัญของคุณภาพเสียงที่แตกต่างกันสาธิตการใช้คันชักในลักษณะต่างๆ เพื่อให้เกิดเสียงที่แตกต่างกัน อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

12 ให้นักเรียนฝึกการสีบนสายเปล่าให้นักเรียนจำจังหวะจากVariation A และ B  และ C โดยที่ครูบรรเลงบนสายเปล่าจากนั้นจึงให้ผู้เรียนปรบมือจังหวะตาม  แล้วให้บรรเลงบนไวโอลิน อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

13 เพิ่มการกดสายตามทำนอง โดยมีครูบรรเลงตาม หรือบรรเลงทำนองหลักควบคู่ไปด้วย อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

14 ให้ผู้เรียนใช้คันชักขึ้น และลงตามจังหวะชุดสั้น  สั้น ยาวบนสายเปล่าก่อน  โดยให้สีระหว่างปลาย และโคนคันชักแล้วจึงให้บรรเลงตามบทเพลง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

15 ให้ผู้เรียนฝึกการบรรเลงบันไดเสียง และอาเพจิโอ  ในรูปแบบ Detace อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

16 สอบปฏิบัติปลายภาค สอบปลายภาคเรียน ตรวจข้อสอบ




ประมวลรายวิชาทฤษฎีดนตรีสากล3

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ32266

2. รายชื่อวิชา ทฤษฎีดนตรีสากล4(หลักการประสานเสียง)

3. จำนวนหน่วยกิต 1.0 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 2

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาลักษณะตัวโน้ตและตัวหยุด  เครื่องหมายกำหนดจังหวะ  ชื่อโน้ตใหม่  การย้ายทำนองเพลง  บันไดเสียงเมเจอร์  บันไดเสียงไมเนอร์  ขั้นคู่เสียง  ตรัยแอ็ดส์และการพลิกกลับ  ศัพท์และเครื่องหมายเพื่อปฏิบัติ ฝึกทักษะการฟัง(Ear Training) 

โดยกระบวนการคิดวิเคราะห์ และกระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจองค์ประกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์เกี่ยวกับคุณค่าดนตรี  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ 

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. มีความรู้ด้านทฤษฎีดนตรีและนำไปใช้ในเชิงบูรณาการ

2. ศึกษา การจัดวางแนวเสียง  การนำแนวเสียงการดำเนินคอร์ด การวางคอร์ดและการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับเสียงประสานทั้งหลาย







ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ทฤษฎีดนตรีสากล4(หลักการประสานเสียง)


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการทฤษฎีดนตรีสากล การประสานเสียง

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเขียนแนวเสียงประสาน 4 Part  

    

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. บันไดเสียงเมเจอร์,ไมเนอร์

2. ขั้นคู่เสียง

3. ตรัยแอ็ดส์

4. การย้ายทำนองเพลง

5. ฝึกทักษะการฟัง




3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 จุดประสงค์ระหว่างเรียน แบบฝึกหัด 20

2 สอบกลางภาค แบบฝึกหัด 20

3 จุดประสงค์ก่อนปลายภาค แบบฝึกหัด 20

4 สอบปลายภาค แบบฝึกหัด 25

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0




5. กระบวนการเรียนการสอน


สัปดาห์ที่/

คาบที่ สาระการเรียนรู้

(เนื้อหา) กิจกรรมการเรียน

การสอน วิธีการวัดผล/

ประเมินผล

ระหว่างเรียน

1 บทเริ่มต้น  แนะนำการเรียนการสอนข้อพึงปฏิบัติ  ทดสอบความรู้ก่อนเรียน อภิปราย  อธิบาย คำถาม สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

2 ระดับเสียงในกุญแจประจำหลัก

เครื่องหมายแปลงเสียง โดกลาง

โน้ตเอนฮาร์โมนิก ระดับเสียงเต็ม ทำแบบทดสอบ  พูดคุย สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

3 ระดับเสียงในกุญแจประจำหลัก

เครื่องหมายแปลงเสียง โดกลาง

โน้ตเอนฮาร์โมนิก ระดับเสียงเต็ม อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

4 จังหวะ ค่าตัวโน้ตต่างๆ  โน้ตตัวหยุด  อัตราจังหวะทุกชนิด

siple time,compound time อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

5 จังหวะ ค่าตัวโน้ตต่างๆ  โน้ตตัวหยุด  อัตราจังหวะทุกชนิด

siple time,compound time อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

6 บันไดเสียงเมเจอร์ ไม่เกิน 5#,5b

บันไดเสียงไมเนอร์ ไม่เกิน5#,5b  แบบnatural,harmonic,melodicบันไดเสียงโครมาติก  ระยะห่างต่างๆของเสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

7 บันไดเสียงเมเจอร์ ไม่เกิน 5#,5b

บันไดเสียงไมเนอร์ ไม่เกิน5#,5b  แบบnatural,harmonic,melodicบันไดเสียงโครมาติก  ระยะห่างต่างๆของเสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

8 สอบกลางภาคเรียน แบบทดสอบกลางภาคเรียน ตรวจข้อสอบ

9 บันไดเสียงเมเจอร์ ไม่เกิน 5#,5b

บันไดเสียงไมเนอร์ ไม่เกิน5#,5b  แบบnatural,harmonic,melodicบันไดเสียงโครมาติก  ระยะห่างต่างๆของเสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

10 เครื่องหมายประจำกุญแจเสียงไม่เกิน  5#,5b อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

11 ขั้นคู่ ระยะห่างของขั้นคู่  คุณภาพเสียงของขั้นคู่ลำดับของบันไดเสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

12 ทรัยแอดทุกตำแหน่งของบันได

เสียง อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

13 ออนาเมนท์ appoggiatua,

acciaccatura อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

14 การย้ายบันไดเสียงได้ตามบันได

เสียงไม่เกิน 5#,5b อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

15 สรุปทบทวนเนื้อหาทั้งหมด อธิบาย  แบบฝึกหัด  ใบงาน สังเกต  ซักถาม  ตรวจการบ้าน

16 สอบปลายภาคเรียน สอบปลายภาค

ตรวจข้อสอบ





ประมวลรายวิชาปฏิบัติดนตรี1

 ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)

ส่วนที่ 1

1. รหัสวิชา ศ31244

2. รายชื่อวิชา ปฎิบัติดนตรี1

3. จำนวนหน่วยกิต 1.5 หน่วยการกิต

4. จำนวนคาบเรียนต่อสัปดาห์ 3

5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ สาขาสาธิตและนิเทศการสอนศิลปกรรม

6. ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

7. ประเภทวิชา วิชาบังคับเลือกวิชาเอก

8. ภาคเรียน/ปีการศึกษา 1/2565

9. ชื่อผู้สอน 1. อ.ยงยุทธ เอี่ยมสอาด

คำอธิบายรายวิชา

ฝึกปฏิบัติเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีไทย หรือการขับร้อง ตามเครื่องมือเอกของนักเรียน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเทคนิคการบรรเลงบทเพลงที่เหมาะสมกับธรรมชาติของเครื่องดนตรีตามเครื่องมือเอก การฝึกแบบฝึกหัด (Exercise, Etude) การฝึกเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 4ชาร์ป 4แฟลต เมเจอร์ไมเนอร์ ฝึกการอ่านโน้ตในจังหวะรูปแบบต่าง ๆ ฝึกทักษะการฟัง สำหรับเครื่องมือเอกดนตรีไทยอาจใช้การฝึกเทคนิควิธีการอื่น ๆ ที่เหมาะสม โดยทุกเครื่องมือเอกต้องจัดการแสดงในปลายภาคเรียนในรูปแบบ Recital โดยมีการบรรเลงประกอบหรือเครื่องประกอบจังหวะตามความเหมาะสมโดยกระบวนการสร้างทักษะการปฏิบัติในการถ่ายทอดดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบต่างๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี  แสดงความรู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ

เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การแก้ปัญหา เกิดทักษะวิเคราะห์ ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการผลิตภาพ และความคิดรับผิดชอบ รวมทั้งการใช้เทคโนโลยี มีทักษะในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ


ผลการเรียนรู้

1. สำหรับดนตรีสากล สามารถเล่นบันไดเสียงต่าง ๆ (Scales) โดยไม่ต่ำกว่า 4 ชาร์ป 4 แฟลต  

   เมเจอร์ไมเนอร์ สำหรับดนตรีไทย สามารถฝึกเทคนิคอื่นที่ช่วยพัฒนาทักษะดนตรีให้ดีขึ้น

2. มีทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติที่ถูกต้อง

3. สามารถปฏิบัติแบบฝึกหัดแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง

4. สามารถปฏิบัติเพลงที่กำหนดได้อย่างถูกต้องตามหลักการและสามารถทำการแสดงในรูปแบบ Recital ได้

ส่วนที่ 2 

ภาพรวมรายวิชา ปฎิบัติดนตรี1


1. จุดประสงค์รายวิชา 

1.1 ด้านความรู้ : เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในหลักการการฝึกปฏิบัติการบรรเลงเครื่องดนตรีตาม         

                     เครื่องมือเอก

1.2 ด้านทักษะและกระบวนการ : เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการบรรเลงเครื่องดนตรีตามเครื่องมือ  

                                                    เอก

1.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ : 

1. วินัย

      - ตรงต่อเวลา 

      - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ

2. ใฝ่เรียนรู้

      - ตั้งใจเรียน

      - มีความรับผิดชอบ

3. มุ่งมั่นในการทำงาน

      - มีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

      - อดทน ขยันหมั่นเพียร

      - รู้จักเสียสละและเห็นใจผู้อื่น


2. ขอบข่ายเนื้อหาสาระ (ระบุหัวข้อ หรือประเด็นสำคัญ)

1. ฝึกไล่ Scale  ที่ยากขึ้น

2. ฝึกทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ

3. ฝึกปฏิบัติแบบฝึกหัด

4. ฝึกปฏิบัติเพลงที่กำหนด


3. แนวทางการจัดการเรียนรู้ (ระบุกลวิธีและวิธีและเทคนิคการจัดการเรียนรู้) 

  การบรรยาย   การอภิปราย   การนำเสนอ   การใช้กระบวนการกลุ่ม   การระดมสมอง   การสาธิต

  การทดลอง   กระบวนการแก้ปัญหา   การปฏิบัติจริง

  กระบวนการทางวิทยาศาสตร์   การฝึกทักษะ   อื่น ๆ (ระบุ)


4. แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 

อัตราส่วนคะแนนเก็บ : คะแนนสอบ = 75 : 25

การประเมิน ประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน

การวัดประเมินการเรียนรู้ เครื่องมือ

1 ฝึกไล่ Scale  แบบฝึกหัด 20

2 ทักษะการฟังเพื่อการปฏิบัติ แบบฝึกหัด 5

3 ปฏิบัติแบบฝึกหัด แบบฝึกหัด 20

4 ปฏิบัติเพลงที่กำหนด แบบฝึกหัด 40

5 จิตพิสัย แบบสังเกต 5

6 พัฒนาการ แบบสังเกต 10

รวม 100 %


เกณฑ์การประเมิน

ระดับคะแนน ผลการเรียน

79.5 – 100 4

74.5 – 79.4 3.5

69.5 – 74.4 3

65.5 – 69.4 2.5

59.5 – 64.4 2

54.5 – 59.4 1.5

49.5 – 54.4 1

0 – 49.4 0









5. กระบวนการเรียนการสอน

สัปดาห์ ครั้งที่ เนื้อหา หมายเหตุ


1 1 แนะนำการเรียนการสอน ข้อพึงปฎิบัติ สอบ P.Tests 3 คาบ

2 2 บันไดเสียงทางชาร์ป  C, G, D, A, E,B   เมเจอร์ ,ไมเนอร์ 3 คาบ

3 3 บันไดเสียงทางแฟลต F, Bb, Eb, Ab, Db   เมเจอร์,ไมเนอร์ 3 คาบ

4 4 บทเพลงสอบ Repertoire  1  Pieces โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า 8 นาที 3 คาบ

5 5 ฝึกเทคนิคและ การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์   บทเพลงสอบที่ 1 3 คาบ

6 6 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 1 3 คาบ

7 7 บทเพลงสอบ  Repertoire 2 -3 Pieces โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า  8 นาที 3 คาบ

สอบกลางภาค

8 8 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 2 3 คาบ

9 9 ฝึกเทคนิคและการตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 2 3 คาบ

10 10 ฝึกเทคนิคและ บทเพลงสอบที่ 3การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ 3 คาบ

11 11 ฝึกเทคนิคและ การตีความตามเครื่องหมายสัญลักษณ์ดนตรี บทประพันธ์ บทเพลงสอบที่ 3 3 คาบ

12 12 นำเสนอบทเพลงที่ใช้ในการสอบปลายภาค

ในรูปแบบ Recital 3 คาบ

13 13 Runthough  การแสดงสอบปลายภาคในรูปแบบ Recital 3 คาบ

14 14 สอบปลายภาคในรูปแบบ Recital 3 คาบ

สอบปลายภาคตามตารางสอบ