-
มานษุ ยดุริยางควิทยาในประเทศไทย
ดนตรีที่เปนรากเหงามีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงแลกรับปรับใชกับดนตรีเพื่อนบาน และดนตรีชนเผา ดนตรีพื้นเมือง มีการยกมาตราฐานดนตรีที่มีสัมพันธกับศูนยกลางอํานาจ เศรษฐกิจการปกครองเรียกวา “ดนตรีไทยเดิม” ในขณะที่ดนตรีที่อยูหางไกลตามภูมิภาค ทองถิ่นตางๆถูกเรียกวา “ดนตรีพื้นบาน” ดนตรีไทยมีบทบาทหนาที่ในสังคมหลากหลายมิติ ทั้งเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรม ทั้งการสรางความบันเทิงผอนคลายและประกอบการแสดงระบํา รําฟอน มีเครื่องดนตรี มีเสียงดนตรี มีบทเพลง และระบบระเบียบในทางดนตรีที่เปนเอกลักษณ ของตน รวมทั้งสถานภาพที่ถูกจัดวางในสังคมไทยในแงมุมตางๆ สุดแทแตวาจะมองจากสวนไหน ของสงั คม
ในอดีตที่ผานมา ในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย สถาบันที่เปนหลักในระบบการศึกษาทาง ดนตรีไทยคือ สํานักสามัญชน ซึ่งมักจะสืบตอความรูในสายตระกูลและชุมชนใกลเคียงอยางแพรหลาย สวนราชสํานักนั้น คือวังของเจานายตางๆตลอดจนหนวยงานทางดนตรี เชนกรมมหรสพหลวง กรม พิณพาทยหลวงที่ตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 การศึกษาจะเนนทักษะหรือการปฏิบัติดนตรีเปนสําคัญ ไมวาจะเปนการฝกทักษะเฉพาะเครื่องดนตรีหรือการขับรองและการรวมวง ตลอดจนการเรียนรูจาก ประสบการณตรง นั่นคือการแสดงออกจริงๆ ตอเพลงจากครูผูใหญหรือนักดนตรีที่มีประสบการณ มากกวา นอกจากนี้ยังมีการเรียนรูแบบครูพักลักจํา ซึ่งเปนเสนหอีกอยางหนึ่งของนักดนตรีไทยที่รูจัก เลือกสรรความรูจากการสังเกตพินิจพิเคราะห หาขอดีขอเดนตนแบบทางดนตรีมาเสริมสรางใน ความรูของตน
กระบวนการศึกษาของดนตรีไทยตั้งแตระดับตนจนถึงระดับสูง จะมีจารีตประเพณีและ พิธีกรรมกํากับอยูดวยเสมอ ไดแกการจับมือ การครอบครู การไหวครู และการมอบสิทธิการเปนครู ผูสืบทอดวิชาความรู ความเชี่ยวชาญชํานาญ และวุฒิภาวะของผูเรียนดนตรีดวย โดยถือวา “ครู”
เปนแหลงรวมวิชาทั้งหมด ทั้งครูมนุษย ครูเทวดา ครูผี ครูเครื่องดนตรี และครูพักลักจํา ในจํานวน นี้ครูมนุษยเปนสวนที่ตองใหความสําคัญที่สุด เพราะกระบวนการความรูทางดนตรีนั้น มิไดมีการ บันทึกไวเปนลายลักษณอักษร ไมเนนหลักฐานเอกสาร ดังนั้นการสืบทอดตางๆ จึงอาศัยครูมนุษย เปนแหลงความรูที่สําคัญยิ่งของผูเรียนวิชาดนตรีไทยในอดีตจึงยึดความรูแบบอยางที่ครูสั่งสอน ใหอยางเครงครัดแตละสํานักก็จะมีครูที่มีชื่อเสียง มีฝมือความรูในหลักวิชาดนตรีประจําอยูลูกศิษย จะตองใชเวลายาวนานในการฝากตัวเรียนรูกับครู ฝกฝนกับครูเรียนแบบและเลียนแบบ ทองจํา ใหชํานาญ และพัฒนาขีดความสามารถเพิ่มขึ้นไปเปนลําดับจนถึงขนาด “แปล” หรือ “แปลง” และ “ดน” จากพื้นฐานเดิมที่มีอยูได แตอยางไรก็ตาม ตองดําเนินอยูบนกติกาที่เหมาะสมและ มีประสบการณทางสุนทรียะดวย
การศึกษาในอดีตที่ผานมา เนนผลสัมฤทธิ์ที่ความสามารถในการประกอบวิชาชีพ “ทํามาหากิน” ไดเปนสําคัญ โดยอาจเปนทั้งอาชีพหลัก คือมีรายไดเลี้ยงตัวเลี้ยงครอบครัว จากการออกงานเลนดนตรีไทยอยางจริงจัง มีวงดนตรีของตนหรือเปนสมาชิกของวงอื่นๆ มีผูให การอุปถัมภค้ําชูโดยเฉพาะเจานายในราชสํานักหรือหนวยงานราชการที่ตั้งขึ้นเพื่อกิจการทางมหรสพ บันเทิงโดยเฉพาะโดยที่นักดนตรีอาจมียศมรบรรดาศักดิ์ เปนเครื่องยืนยันความสามารถในการ ประกอบอาชีพหลักของตนอยูดวย นอกจากนี้ผูนิยมเรียนดนตรีไทยเพื่อเปนอาชีพรอง คือมีรายได จากอาชีพหลักอื่นๆ เชน เกษตรกรรม หรือเลนดนตรีเพื่อความบันเทิงเริงรมยมากกวา
รวบรวมข่าวสารดนตรีศึกษา ดนตรีวิทยา ดนตรีชาติพันธ์ การศึกษาทางมานุษยดุริยางควิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2559
มานุษยดุริยางควิทยา
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น