1
.แนวคิดในการจัดหลักสูตรวิชาเอกดุริยางคศิลป์
1.1 หลักสูตรวิชาเอกดุริยางคศิลป์
เริ่มเปิดใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 ปัจจุบันครบรอบ 17 ปีในการเปิดใช้หลักสูตรควรจะมีการประชุมวิพากษ์หลักสูตรเพื่อการปรับใช้และพัฒนาการที่ดีต่อไปข้างหน้า
1.2 รายวิชาเอกดุริยางคศิลป์ 61 หน่วยการเรียน
การประเมินผลการเรียนในอนาคตข้างหน้า มีแนวคิดว่าผลจากการประเมินผลแล้วสามารถออกเป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นงานที่จับต้องได้
โชว์ต่อได้ หรือสามารถแจก จำหน่าย เป็นของที่ระลึก เช่น
หลายรายวิชาสามารถสร้างงานออกมาเป็นรูปแบบ ซี ดีเพลง หรือวี ดี โอ การแสดง
โดยจัดรูปแบบให้สวยงาม
1.3 จัดบรรยากาศวัฒนธรรมการแสดงดนตรี
ละครเวที การแสดงวัฒนธรรมต่างๆ ภายในสถานที่ตั้ง(ห้องจัดการแสดงวิชาเอก)
เพื่อสามารถเรียกมิตรรักแฟนเพลง มาเยี่ยมชมวัฒนธรรมการแสดงของวิชาเอก
และเผยแพร่บรรยากาศ สภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอนวิชาเอกในสถานที่จริงของโรงเรียน
2.การจัดการเรียนการสอน
2.1
การจัดการเรียนการสอน
เพื่อสู่จุดหมายการผลิตนักเรียนเฉพาะทาง(ดนตรี)เข้าสู่สถาบันอุดมศึกษาอย่างมีคุณภาพ
2.2
การจัดกิจกรรมดนตรีเสริมหลักสูตรที่เป็นมาตรฐานสากล ได้แก่
วงออเครสตร้า วงซิมโฟนิกแบนด์ วงแชมเบอร์มิวสิก วงขับร้องประสานเสียง
3.วิธีการวัดการประเมินผลของการสอน
การวัดผลประเมินผลรายวิชาทักษะดนตรีปฏิบัติ
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของหลักสูตรรายวิชาทักษะดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ดนตรี
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม ) โดยมีหัวข้อและเกณฑ์การประเมิน
เพื่อใช้ประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียน
โดยประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ดังนี้
การวัดผลประเมินผล การสอบปฏิบัติเครื่องดนตรี
( Recital ) แผนการเรียนดนตรี
Music Ability |
คุณสมบัติ และเนื้อหารในการประเมิน |
Melody |
สามารถเล่นทำนองได้ถูกต้องทั้งหมด
มีความสามรถในการจำทำนองได้อย่างถูกต้อง |
Intonation |
เล่นระดับเสียงได้ถูกต้องทั้งหมดไม่ผิดเพี้ยน |
Rythm |
เล่นได้ถูกต้องตามค่าความสั้นยาวของเสียงและเข้าใจลีลาของจังหวะ |
Tempo |
แสดงให้เห็นว่าเข้าใจและเล่นได้ถูกต้องตรงกับเครื่องหมายที่กำหนดไว้มีพัฒนาการทักษะความรู้สึกอย่างดีเกี่ยวกับจังหวะ |
Articulation |
สามารถเล่นเพลงได้ต่อเนื่องถูกต้องทั้งเพลงอย่างมั่นใจ |
Technique/Aceuracy |
ใช้นิ้วได้อย่างถูกต้องทั้งหมด
และนำเทคนิคที่ได้มาประยุกต์ใช้กับการเล่นดนตรี |
Dyamic |
สามารถเล่นระดับความดัง เบา ถูกต้องทั้งหมด
แสดงให้เห็นว่ามีความใส่ใจในการเล่นให้ถูกต้อง |
Tone/Vibrato |
สามารถผลิตเสียงที่มีคุณภาพตลอดทั้งเพลง รู้จักการฝึกหายใจอย่างเหมาะสม
บรรเลงด้วยความไพเราะ |
Music/Expression |
แสดงให้เห็นท่าทางการแสดงออกที่สื่อถึงอารมณ์
ความรู้สึกในบทเพลงได้ดี |
Stage Presence/ Professionalism |
แสดงให้เห็นว่ามีการนำเสนอบทเพลงได้อย่างดี
มีความมั่นใจดึงดูดผู้ชม |
Note Reading |
มีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีที่ดี
สามารถอ่านโน้ตแบบฉับพลันได้ |
Playing Profreiency |
มีความสามารถในการบรรเลงอย่างมีคุณภาพ |
Preference |
มีความชื่นชอบในงานดนตรีที่หลากหลาย |
Background Knowledge |
มีความรู้ทางดนตรี ทั้งในแง่ประวัติดนตรี
การนิยามความหมายการประพันธ์ นักดนตรี สามารถพรรณาออกมาเป็นวาจาและตัวหนังสือได้ |
Aural Discrimination |
มีความสามารถในการวินิจฉัยเสียงที่ได้ยิน |
Aural Identification With note reading |
มีความสามารถในการร้องจากการอ่านโน้ต
และตอบได้ว่ามีคุณสมบัติอย่างไร |
Creating/ Improvisation |
มีความคิดสร้างสรรค์ในการบรรเลง |
Musicality |
1.
มีความรักดนตรีอย่างลึกซึ้ง 2.
มีความชื่นชมในเสน่ห์ของดนตรี 3.
มีความสนใจในเครื่องดนตรี 4.
มีความสามารถในการเล่นดนตรีด้วยการฟัง 5.
การซ้อมดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต 6.
สามารถเล่นดนตรีร่วมกับผู้อื่นได้ 7.
ตรงต่อเวลา 8.
มีจรรณยาบรรณ 9.
สามารถประเมินตนเองได้ และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 10. หาความรู้เพิ่มเติมเสมอ |
การสอบปฎิบัติเครื่องดนตรีรายวิชาทักษะดนตรี
คะแนนแบ่งตามหัวข้อการประเมิน
เนื้อเรื่อง |
คะแนน |
Melody |
10 |
Intonation |
10 |
Rhythm |
10 |
Tempo |
10 |
Articulation |
10 |
Technique |
10 |
Dynamic |
10 |
Tone/vibrato |
10 |
Music/Expression |
10 |
Stage Presence |
10 |
รวมคะแนน |
100 คะแนน |
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
-
ระหว่างภาค (อาจารย์พิเศษเครื่องมือเอก) 40 คะแนน
-
คะแนนสอบกลางภาค
Recital 20 คะแนน
-
คะแนนสอบการแสดง
Recital 30 คะแนน
-
คะแนนจิตพิสัย 10 คะแนน
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน |
เกรด |
80
- 100 |
4 |
75
- 79 |
3.5 |
70
- 74 |
3 |
65
- 69 |
2.5 |
60
- 64 |
2 |
55
- 59 |
1.5 |
50 - 54 |
1 |
0
- 49 |
0 |
4.ผลผลิต (นักเรียนปัจจุบัน ผลการเข้าสอบ
นักเรียนเก่า เป็นต้น)
5. ภาพกิจกรรมต่างๆ โดยรวมของหมวด สามารถเยี่ยมชมได้ตามช่องทางดังต่อไปนี้
5.1 เว็บเพจ PSM
Music Department
5.2 Youtube
: yongyuth Eiamsa-ard
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น